Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses
การรับรู้ทางประสาทสัมผัส
(Sensory perception)
Transduction: แปลสัญญาณ
Transmission: ส่งสัญญาณ
Modulation: แปลงสัญญาณ
Perception: การรับรู้
ชนิดของการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
(Type of sensation)
Superficial sensation: ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว (รับรู้ผ่านทางผิวหนัง)
Deep sensation: ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบลึก (รับรู้ผ่านทางกล้ามเนื้อและข้อต่อ)
Visceral sensations: ประสาทสัมผัสการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับช่องท้อง
Special senses: ประสาทสัมผัสการรับรู้
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก
(Common characteristics of receptor)
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
Adaptation: การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Receptive fields: ตัวรับหนึ่งๆจะตอบสนองต่อแรงที่กระทำบนพื้นผิวเฉพาะในบริเวรขอบเขตที่ีมีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Two-point discrimination threshold: ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยที่สุด ที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น2ตำแหน่ง ใช้สำหรับวัดระยะห่างของ Receptive fields
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก (Classification of sensory receptors)
แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
Exteroceptor: สิ่งเร้าอยู่ภายนอก เช่น ความร้อน/เย็น, สัมผัสเจ็บปวด
Visceroceptor: สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
Telereceptor: สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ
Proprioceptor: ตำแหน่งของร่างกาย ความรู้สึกมนขณะที่มีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ,เอ็น,ข้อต่อ)
ระบบประสาทรับความรู้สึกทางกาย
(Somatosensory system)
Posterior (Dorsal) columns: สัมผัสแบบละเอียด
Spinocerebellar tracts: สัมผัสจากกล้ามเนื้อ,กระดูก,ข้อต่อ
Spinothalamic tracts: สัมผัสความเจ็บปวดและอุณหภูมิ
Primary sensory cortex
Brodmann area: 3,1,2 ทำหน้าที่ในการรับความรู้สึกจากผิวหนัง,กล้ามเนื้อ,และข้อต่อ
Spinothalamic tracts
Anterior spinothalamic tract: สัมผัสแบบหยาบ (Crude touch)
Lateral spinothalamic tract: ความเจ็บปวดและอุณหภูมิ (Pain and Tempereture)
การมองเห็น (Vision)
แสง> Cornea(กระจกตา)> Pupil(รูม่านตา)> Lens(เลนส์ตา)> Retina(ฉากรับภาพ)> ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
Optic disc (blind spot) จุดบอด
Scotopic Vistion เป็นช่วงที่ Rods ทำงานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัตถุต่างไเป็นสีขาว-ดำเท่านั้น
Mesopic Vision เป็นช่วงที่ Rods และ Cones ทำงานร่วมกันทำให้มองเห็นวัตถุเป็นสีปนขาว-ดำ แต่ไม่สามารถระบุให้แน่ชัดได้ว่าเป็นสีใด
Photopic Vision เป็นช่วงที่ Cones ทำงานเพียงอย่างเดียวจะมองเห็นวัตถุต่างๆเป็นสีถูกต้องและบอกรายละเอียดของวัตถุได้ชัดเจน
Primary visual cortex เพื่อทำหน้าที่รับภาพที่มองเห็นเป็นภาพจริงหัวตั้ง
การได้ยิน (Hearing)
หูชั้นนอก ทำหน้าที่รวบรวมเสียง
หูชั้นกลาง ทำหน้าที่ขยายสัญญาณเสียง
หูชั้นใน ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์
เซลล์ขน (Hair Cells) เป็นตัวรับกระตุ้นของเสียง โดนเซลล์ขนที่ฐานคอเคลียทำหน้าที่รับเสียงสูงและปลายท่อทำหน้าที่รับเสียงทุ้ม
แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth) อวัยวะรับการทรงตัว
หินปูน (Otolith) เกาะอยู่ระหว่างคอเคลียกับประสาทการทรงตัว เพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวศีรษะตามแรงโน้มถ่วงของโลก
การทรงตัว (Balance)
การควบคุมรักษาสมดุลการทรงตัวและเคลื่อนไหว
ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้
Vestibular apparatus (หู)
Eyes (ตา)
Posterior column of spinal cord (ไขสันหลัง)
Cerebellum (สมองซีรีเบลลัม)
หูชั้นในที่ช่วยในการทรงตัว (Vestibular apparatus หรือ Semicircelar canals) ทำหน้าที่ควบคุมการทรงตัวหากมีการเคลื่อนไหวของศรีษะอย่างกะทันหัน
การรับรส (Taste)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการรับรส Insular cortex
ทำหน้าที่ในการแสดงความรุ้สึกเมท่อมีการรับรส คือ Limbic system
Hippocampus จดจำรสชาติ
Amygdala Hypothalamus ความรู้สึกเมท่อรับรส
การได้กลิ่น (Smell)
อวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นคือ จมูก (Nose) บริเวณที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นอยู่ที่บริเวณโพรงจมูกส่วนบน เรียกว่า Olfactory epithelium
Olfactory receptors คือฐานรับกลิ่นที่มีลักษณธเป็นเนื้อผิว เรียกว่า Olfactory epithelium
ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด คือ Olfactory receptor cells, Supporting epithelial (sustentacular) cells และ Basal cells
ทำหน้าที่ในการแสดงความรู้สึกเมื่อมีการรับกลิ่น คือ Amygdala