Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory and Special Senses - Coggle Diagram
Sensory and Special Senses
การรับความรู้สึกทั่วไป
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก
Threshold: ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุ
Adaptation :การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
Tonic receptors (Slowly adapting receptors)
ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นตลอดเวลาที่สิ่งกระตุ้นยังคงอยู่
เช่น ตัวรับความรู้สึกบริเวณหูที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว
Phasic receptors (Rapidly adapting receptors)
ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นเฉพาะในช่วงแรกและช่วง สุดท้ายของการกระตุ้น
เช่น ตัวรับความรู้สึกบริเวณ ผิวหนัง
Receptive fields
ตัวรับหนึ่ง ๆ จะตอบสนองต่อแรงที่กระทำบนพื้นผิวเฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
Two-point discrimination threshold
ระยะห่างของจุดกระตุ้นทีน้อยที่สุด ที่สามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น 2 ตำแหน่งใช้สำหรับวัดระยะห่างของ Receptive fields
การแบ่งชนิดของตัวรับความรู้สึก
1) แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
Free nerve endings
(ปลายเปลือย)
Encapsulated nerve endings
(ปลายเป็นกระเปาะแคปซูล)
Sensory cells (เซลล์เฉพาะ)
2) แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
Exteroceptor : สิ่งเร้าอยู่ภายนอก เช่น ความร้อน/เย็น, สัมผัสเจ็บปวด
Visceroceptor : สิ่งเร้าอยู่มาจากอวัยวะภายใน
Telereceptor : สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ ได้แก่ กลิ่น แสง เสียง
Proprioceptor : ตำแหน่งของร่างกาย ความรู้สึกในขณะที่มีการเคลื่อนไหว (กล้ามเนื้อ, เอ็น, ข้อต่อ)
3) แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
Mechanoreceptor : พลังงานกล (Tactile, Stretch receptor, Skeletal muscle, Teudons, Ligaments, Joint capsules, Sound)
Thermoreceptor : อุณหภูมิ (Cold, Warm receptor)
Chemoreceptor : เคมี (Taste buds, Olfactory receptors)
Photoreceptor : แสง (Retina : Rod, Cone cells)
Nociceptor : ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย เช่น ความเจ็บปวด
ตัวรับรู้สัมผัส (Tactile mechanoreceptor)
Slowly adapting mechanoreceptor ปรับตัวช้า
Free nerve ending: อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
Merkel's disks:อยู่บริเวณปลายนิ้วมือมี receptive field แคบรับสัมผัสที่ละเอียดอ่อน
Ruffini ending:อยู่ลึกในผิวหนังและข้อต่อ
Slowly adapting mechanoreceptor ปรับตัวช้า
Free nerve ending: อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
Merkel's disks:อยู่บริเวณปลายนิ้วมือมี receptive field แคบรับสัมผัสที่ละเอียดอ่อน
Ruffini ending:อยู่ลึกในผิวหนังและข้อต่อ
ความรู้สึกเจ็บ
Sites of Pain origin :
Somatic pain เป็นอาการปวดที่มาจากผิวหนัง,
กระดูก, กล้ามเนื้อ, เอ็นข้อต่อ เป็นต้น
Visceral pain เป็นอาการปวดที่มาจากอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ, ปอด, ระบบทางเดินอาหาร และระบบสืบพันธุ์
Neuropathic pain เป็นอาการปวดที่มาจากโรค ปลายประสาทเสื่อม
Referred pain
อาการปวดต่างที่ เป็นความเจ็บปวดต่างที่จากช่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อกวามเจ็บปวด
เช่น
อาการปวดเก้นหัวใจ (angina pcctoris) ซึ่งเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (หัวใจวาย) แต่ มักจะทำให้รู้สึกปวดกง ไหล่ และหลัง
ตัวรับรู้อุณหภูมิ (Thermoreceptor)
Krause's corpuscle (end bulb):Cold receptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิต่ำ
Free nerve ending: Cold-Warm receptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิเย็น อุ่น และร้อน
การรับความรู้สึกชนิดพิเศษ
Referred pain
อาการปวดต่างที่ เป็นกวามเจ็บปวดต่างที่จากช่วนร่างกายซึ่งได้รับสิ่งเร้าอันก่อกวามเจ็บปวด
อาการปวดเก้นหัวใจ (angina pcctoris) ซึ่งเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (หัวใจวาย) แต่ มักจะทำให้รู้สึกปวดกง ไหล่ และหลัง
ตัวรับรู้อุณหภูมิ (Thermoreceptor)
Krause's corpuscle (end bulb):Cold receptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิต่ำ
Free nerve ending: Cold-Warm receptor ตอบสนองต่ออุณหภูมิเย็น อุ่น และร้อน
กรรมองเห็น (Vision)
หรือการเพ่งของเลนส์แก้วตาน้ันเป็นระบบเกย่ีวกบัการเปลยี่นแปลงภายในลกูตาทเี่กดิขนึ้ • ขณะที่ciliarymuscleคลายตวั เอน็ zonesfiberซึ่งปลายข้างหนึ่งยดึกบั กล้ามเนื้อciliaryแ
การได้ยิน (Hearing)
หูชั้นนนอก ใบหู (Pinna) → ช่องหู (Auditory canal) → แก้วหูหรือ เยื่อแก้วหู (Ear drum)
หูชั้นกลาง ท่อยสู เตเชียน (Eustachian tube) → กระดูกค้อนน (Malleus) → กระดูกกระบัง (Incus) → กระดูกโกลน (Stapes)
หูชั้นใน คอเคลีย (Cochlea) → ช่องเซมิเซอร์คิวลําร์ (Semicircular canal)
เซลล์ขน(Hair Cells)เป็นตวั รับกระตุ้น ของเสียงโดนเซลลข์ ที่ฐานลำคอเคลียทําหน้า ที่รับเสียงสูงและปลํายท่อทําหนํา้ ที่รับเสียงทุ้ม
แลบบิรินท์ (Vestibular labyrinth) อวยั วะรับกํารทรงตัว
หินปนู (Otolith) เกําะอยรู่ ะหว่ํางคอเคลียกบั ประสําทกํารทรงตวั เพื่อช่วยในกํารเคล่ือนไหวศีรษะตํามแรงโนม้ ถ่วงของโลก