Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ - Coggle Diagram
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
ความหมาย
ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย มีหน้าที่สำคัญคือ ควบคุมการเผาผลาญmetabolismของร่างกาย ถ้าต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่ได้ปกติเรียกว่ายูไทรอยด์ ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ในหญิงตั้งครรภ์อาจเป็นเรื่องปกติ เช่น โตเล็กน้อย ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์เป็นพิษมี 3 ชนิดได้แก่ 1.ต่อมไทรอยด์โตหรือคอพอก (goiter) 2.ต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่มากเกินไปหรือเป็นพิษ (hyperthyroidism or thyrotoxicosis) 3.ต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่น้อยเกินไป (hypothyroidism)
ผลกระทบของการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
1.แท้งและคลอดก่อนกำหนด
2.เกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ผลต่อทารก
2.การเจริญเติบโตในครรภ์ช้า
3.มีโอกาศเกิดต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
1.ทารกตายในครรภ์
4.ทารกมีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน
การรักษา
2.ยาปิดกั้นอดรีเอนร์จิค (adrenergic blocking agent)
3.รักษาด้วยไอโอดีน กัมมันตรังสี (radioiodine therapy=13l)
1.การให้ยาต้านไทรอยด์ (antithyroid drug)
1.1โพรพิลไทโอยูเรซิล (Propylthiouracil=PTU)
1.2เมธิมาโซล (methimazole) และคาร์บิมาโซล (carbimazole)
4.การผ่าต่อมไทรอยด์ (thyroid storm)
อาการและอาการแสดง
1.ต่อมไทรอยด์โตมากกว่าปกติ 3-4 เท่า
2.กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบและสั่น (Tremor)
3.หิวบ่อย รับประทานจุ แต่น้ำหนักลดจากการเผาผลาญของร่างกายเร็วขึ้น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
4.ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
5.หัวใจเต้นเร็วและแรง ใจสั่น ชีพจรเร็ว 90-160ครั้ง/นาที ความดันชีพจรกว้างมากกว่า 40 mmhg
6.นอนไม่ค่อยหลับ ชีพจรขณะหลับสูงกว่า 80ครั้ง/นาที
7.มีอาการตาโปน เนื่องจากน้ำและไขมันที่สะสมในหลังดวงตาดันให้ลูกตาโปนออกจากเบ้าตา ถ้าถูกดันออกมามากๆหลับตาไม่สนิทอาจเกิดแผลและติดเชื้อที่จอตาทำให้ตาบอดได้
8.ผิวหนัง อุ่น ชื้น แดง เส้นผม นุ่มบาง
การวินิจฉัย
1.จากการซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบการผิดปกติคือ
3.1ตรวจพบ T4 ใน serum>13 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
3.2 ตรวจ T3 resin uptake
3.Basal metabolic rste:BMR
อุบัติการณ์
ต่อมไทรอยด์ทำงานมากหรือต่อมไทรอยด์เป็นพิษ พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย 4 เท่า โดยเฉพาะหญิงที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี จึงทำให้มีโอกาสพบในหญิงตั้งครรภ์ได้ โดยจะพบในหญิงตั้งครรภ์ร้อยละ 0.05 ของหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด
พยาธิสภาพ
เมื่อมีการสร้างและหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์มากกว่าปกติ ทำให้โตขึ้นเรื่อยๆกดหลอดลมหรือหลอดอาหารทำให้หายใจหรือกลืนอาหารลำบาก มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและมีผลเพิ่มการเผาผลาญของเนื้อเยื่อเกือบทุกชนิดยกเว้นสมอง เรตินา ม้าม อัณฑะและปอด ดังนี้
1.เพิ่มการเผาผลาญของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน
2.หลั่งน้ำย่อยมากขึ้น
3.เพิ่มการเผาผลาญของกล้ามเนื้อหัวใจ
4.ระบบประสาทตื่นตัว
แนวคิดสตรีตั้งครรภ์ที่มีต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานหนักมาก (hyperthyroidism)
เป็นภาวะที่ร่างกายของหญิงตั้งครรภ์มีการเผาผลาญและผลิตพลังงานสูงขึ้น เนื่องจากมีฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์มากเกินไป