Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
My mapping อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ I และ II -…
My mapping อวัยวะรับความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ I และ II
ระบบประสาทสัมผัส(Sensory perception)
-การรับรู้Perception -แปลงภาษา Modulation
-ส่งสัญญาณTransmission -แปลสัญญาณ Transduction
รับรู้ประสาทสัมผัส
-ประสาทสัมผัสการรับรู้แบบพื้นผิว Superficial sensation -ประสาทรับรู้แบบลึกDeep sensation -ประสาทสัมผัสรับรู้กับช่องท้อง -ประสาทสัมผัสรับรู้ Special senses
ลักษณะของสิ่งกระตุ้น
-Modality : ประเภท
-Intensity : ความแรง
-Duration : ระยะเวลา
-Location : ตำแหน่ง
การแบ่งตัวรับความรู้สึก
-แบ่งตามรูปร่างทางจุลภาคศาสตร์
-แบ่งตามตำแหน่งตัวรับหรือตามหน้าที่
-แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
-คุณสมบัติทั่วไปรับความรู้สึก -ปรับตัวรับความรู้สึก -ตัวรับหนึ่ง ๆ จะตอบสนองต่อแรงที่กระทำบนพื้นผิว -ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อยที่สุด
ประสาทรับทางกาย
ตัวรับรู้สัมผัส -อยู่ที่ผิวหนังรับการสัมผัส -อยูบริเวณปลายนิ้วมือ -อยู่ลึกในผิวหนังข้อต่อกดแรงๆ -พบบริเวณนิ้วมือ ฝ่ามือ ริมฝี ปาก หัวนม -อยู่บริเวณผิวหนัง รับแรงกด และสั่นสะเทือน พบที่หัวนม
องค์ประกอบของการรับความรู้สึกพิเศษ
-ตัวรับความรู้สึก -เส้นประสาทสมอง -เส้นประสาทสมอง -เซลล์ประสาทที่ 2 และ 3 -เปลือกสมองรับความรู้สึกส่วนปฐมภูมิ
การเห็น -ดวงตามนุษย์เปรียบเสมือนกล้องภาพเนื่องจากมีส่วนประกอบและลักษณะการทำงานคล้ายกัน
การได้กลิ่น -อวัยวะที่ทำหน้าที่กับการได้กลิ่นคือจมูกบริเวฯที่เกี่ยวกับการได้กลิ่นบริเวณส่วนบนโพรงจมูก
การรับรส-
(Tonque) papillae taste buds
สรีรวิทยาของการมองเห็น -จอตา จานประสาท เส้นประสาท ส่วนไขว้ประสาท ศูนย์ถ่ายทอดสัญญาณประสาทจากจอตา
การได้ยิน-หูชั้นนอกใบหู ช่องหูแก้วหู-หูชั้นกลาง กระดูกค้อน กระดูกค้อน กระดูกทั่ง กระดูกโคลน -หูชั้นใน คอเสีย ช่องเซมิเซอร์คิ้วล่าร์
การทรงตัว -การควบคุมรักษาสมดุลการทรงตัวและเคลื่อนไหวขึ้นอยู่กับองค์ประกอบนี้ -หู -ตา -ไขสันหลัง -สมองซีรีเบลลัม