Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมและครอบครัว - Coggle Diagram
บทที่ 2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมและครอบครัว
1. ความหมายของสังคม
กลุ่มคนที่อยู่รวมกันมีความสัมพันธ์กัน
มีขอบเขตที่ชัดเจน มีวิถีชีวิตเป็นลักษณะเฉพาะกลุ่ม
สมาชิกทุกคนมีสถานภาพ
บทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน
ประเภทของสังคม
สังคมกสิกรรม (Agrarian society)
สังคมอุตสาหกรรม (Industrial society)
สังคมทำไร่ (Horticultural society)
สังคมเลี้ยงสัตว์ (Herding society)
สังคมล่าสัตว์และเก็บอาหาร(Hunting and gathering society)
2. ลักษณะของสังคม
text
การมีความสัมพันธ์กัน (Relationship)
การติดต่อพบปะกัน (Interaction)
การแบ่งหน้าที่และความร่วมมือ (Divition of Labor and Cooperation)
การรู้จักเป็นพวกเดียวกัน (Discrimination)
การมีระบบ ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และบรรทัดฐานร่วมกัน (Idea, Belief, Value, Norms)
การมีอาณาเขตที่อยู่รวมกัน (Territory)
การมีสถาบันที่ให้บริการตอบสนองความต้องการของสมาชิกในสังคม (Institutions)
การอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม (Group Living)
3. วัฒนธรรม
วิถีการดำรงชีวิต
สังคมกำหนดเพื่อปฏิบัติในการอยู่ร่วมกัน
มีการสืบทอดเพื่อเป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มคนตลอดไป
ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material Culture)สัมผัสได้
วัฒนธรรมไม่ใช่วัตถุ (Material Culture)สัมผัสไม่ได้
4. ลักษณะของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นมรดกทางสังคม
วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิตหรือแบบจำลองของการดำรงชีวิต
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่คงที่ มนุษย์มีการคิดค้นสิ่งใหม่
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ได้มาจากการเรียนรู้
5. สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สภาพแวดล้อมธรรมชาติ
ประชากร การเพิ่มของจำนวนประชากร
เทคโนโลยี การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่หรือการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นเรื่องของกฎระเบียบของสังคม
ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม หรืออุดมการณ์ของคนในสังคม
ผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ผลดี การประดิษฐ์คิดค้นทำให้เกิดความก้าวหน้าต่อสังคม
ผลเสีย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ย่อมทำให้เกิดปัญหาตามมา
6. อิทธิพลของสังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อเด็ก
ศาสนา
กำหนดหรือควบคุมพฤติกรรมทางสังคม
เป็นหลักยึดให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติในทางที่ดีงาม
ภาษา
การสื่อสารในชีวิตประจำวัน
ภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษาท่าทาง
สถาบัน
ถ่ายทอดวัฒนธรรม
มีลักษณะเฉพาะตัวเป็นไปอย่างมีแบบแผนและเปลี่ยนแปลงยาก
ครอบครัว ศาสนา การศึกษา การปกครองและเศรษฐกิจ
ค่านิยมทางวัฒนธรรม ประเพณี
ความเชื่อเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี
ค่านิยมที่เหมาะแก่กาลสมัยจะช่วยส่งเสริมประสบการณ์ชีวิตในแนวทางที่ถูกต้อง
สื่อมวลชน
เครื่องช่วยเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ
หนังสือ ภาพยนตร์ ละคร วิทยุ โทรทัศน์
การอบรมเด็กเกี่ยวกับกฎระเบียบของสังคม
การปราศจากสัญชาตญาณบางอย่างของมนุษย์
ความต้องการพึ่งพาคนอื่นในวัยเด็ก
ความสามารถในการเรียนรู้
ภาษา
การอบรมสั่งสอนให้เด็กรู้จักกฎ ระเบียบ วัฒนธรรมของสังคม
ระเบียบวินัย
การสร้างความมุ่งหวัง
บทบาททางสังคม
ทักษะที่จะร่วมทำกิจกรรมกับผู้อื่น
ลักษณะการให้การอบรม
อบรมสั่งสอนทางอ้อม
พยายามทำให้เด็กรู้ว่า ตนได้รับความรักอย่างเพียงพอ
ทำให้เด็กเกิดความรู้สึกว่าพ่อแม่เป็นที่พึ่งของเขา
เป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อให้เด็กรับเอาทัศนคติ
ให้โอกาสเด็กได้แสดงความคิดเห็น
ให้เด็กรู้จักหน้าที่และรู้จักรับผิดชอบ
การอบรมสั่งสอนโดยตรง
เจาะจง/ยกย่อง/ชมเชย
7. ครอบครัวและความหมายครอบครัว
การที่บุคคลอยู่ร่วมกันมากกว่า 2 คน ขึ้นไปอยู่ร่วมกันโดยมีระยะเวลายาวนานพอสมควร
การสมรส ญาติพี่น้อง สายโลหิต
8. ความสำคัญของครอบครัว
อิทธิพลของครอบครัว
พ่อแม่ต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้ร่วมสนุกในการใช้ความสามารถ
พ่อแม่ต้องยอมรับว่าความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
พ่อแม่จะต้องศึกษาแบบแผนของความเจริญเติบโต
พ่อแม่ต้องจัดหาสิ่งต่าง ๆ สนองความต้องการพื้นฐานแก่เด็ก
. พ่อแม่ต้องเข้าใจพัฒนาการของเด็ก
ประเภทครอบครัว
ประเภทที่ 1 การจัดครอบครัวตามลักษณะหน้าที่
ครอบครัวแรกเริ่ม/พ่อ-แม่
ครอบครัวสร้างสมาชิกใหม่/พ่อ-แม่-ลูก
ประเภทที่ 2
ครอบครัวเดี่ยวหรือครอบครัวเล็ก /พ่อ-แม่-ลูก
ครอบครัวขยาย /2ครอบครัว+
พหุครอบครัว /มีผัว-เมียมากกว่า1
ครอบครัวเดี่ยว /บิดา-บุตร
ครอบครัวรวม /ลูกเลี้ยง-ลูกใหม่/พ่อแม่
ครอบครัวรับบุตร
พ่อแม่บุตรบุญธรรม
9. หน้าที่ของครอบครัว
เลี้ยงดูบุตร
เสริมสร้างสมาชิกให้กับสังคม
อบรมสั่งสอนบุตรให้รู้จักระเบียบสังคม
กำหนดสถานภาพของบุตรในสังคม
10. การวางแผนครอบครัว
ความหมาย
การวางแผนการใช้ชีวิตคู่ของชายหญิงที่แต่งงานกัน การมีบุตร เป็นครอบครัวที่สมบูรณ์ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สาเหตุ
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
ปัญหาด้านสังคม
ปัญหาด้านการศึกษา
ปัญหาด้านสาธารณสุข การแพทย์และอนามัย
ปัญหาครอบครัว
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
11. วัตถุประสงค์การวางแผนครอบครัว
เพื่อลดอัตราการเกิดประชากรให้น้อยลง
เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดีขึ้น
เพื่อให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเป็นไปด้วยดี
เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนสิ่งต่าง ๆ โดยเฉพาะเครื่องอุปโภค
12. วิธีการวางแผนครอบครัว
วิธีการวางแผนครอบครัว
การชะลอกำเนิด
การเร่งกำเนิด
บุตรมีจำนวนพอเหมาะกับสภาพเศรษฐกิจ
มีลูกตามปราถนา
ขจัดสาเหตุที่ทำให้ชายหรือหญิงมีบุตรยาก
การเลือกกำเนิด
ผสมเทียม
13. อุปสรรคการวางแผนครอบครัว
การบริการวางแผนครอบครัวมีไม่เพียงพอ
วิธีคุมกำเนิดยังไม่เป็นที่พอใจหรือนิยมใช้ของประชากร
เจตคติของบุคคลที่มีต่อการคุมกำเนิด
ความไม่รู้ในการวางแผนครอบครัวของบุคคลระดับต่าง ๆ
การวางแผนครอบครัวเพื่อชะลออการเกิด หรือลดอัตราการเกิดในระดับประเทศนั้นประชาชนบางส่วนไม่ค่อยให้ความร่วมมือหรือสมัครใจทำ
ขาดข้อมูล
สถานที่บริการเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย
สำนักงานสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลต่าง ๆ ทั่วประเทศ