Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพันธุกรรมหรือทฤษฎีโปรแกรม Genetic theory or Programmed ageing theory…
ทฤษฎีพันธุกรรมหรือทฤษฎีโปรแกรม
Genetic theory or Programmed ageing theory
ทฤษฎีพันธุกรรม :
ทฤษฎีพันธุกรรมทั่วไป (General genetic theory)
กล่าวคืออายุขัยของสัตว์แต่ละชนิดจะมีอายุขัยไม่เท่ากันทั้งนี้ถูกกำหนดขึ้นโดยรหัสพันธุกรรมนอกจากนี้ยังพบว่าครอบครัวใดที่มีบรรพบุรุษที่มีอายุขัยยืนยาวบุคคลในครอบครัวนั้นก็จะมีอายุขัยยืนยาวด้วยเช่นกัน แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมก็จะมีผลให้รหัสพันธุกรรมซึ่งเป็นตัวกําหนดอายุขัยเปลี่ยนไปได้เช่นกัน
ทฤษฎีว่าด้วยอายุขัยของสัตว์ของสัตว์แต่ละชนิดที่มีความแตกต่างกันตามโปรแกรมของยีนแต่ละประเภท ตามความยาวนานของอายุขัยของชนิดสัตว์ ยีนเป็นตัวควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม มีอยู่ตั้งแต่ระดับเซลล์ เนื้อเยื่อ จนถึงอวัยวะ
รวิวรรณ ลีมาสวัสดิ์กุล. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเอง ความว้าเหว่ และสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านจันทบุรี. สารนิพนธ์ วท.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf
สมรักษ์ รักษาทรัพย์, กาญจนี กังวานพรศิริ และนงนุช อินทรวิเศษ. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาอาชีพและโอกาสที่จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Czaja, S. J. (1999). Technological Change and the Older Worker. Handbook of the Psychology of Aging. Edited by Birren, J. E. & Schaie, K. W. 547-568.
California: Academic Press.
Erikson, E. H. (1968). Identity: Youth and Crisis. New York: Norton.Kanfer, R. & Ackerman, P. L. (2004). Aging, Adult Development, and Work Motivation. Academy of Management Review, 29(3), 440-458.
Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, 50(4), 370-396.
Rudinger, G., et al. (1991). Aging and Modern Technology: How to Cope with Products and Services. Work and Aging: A European Perspective. Edited by Snel, J. & Cremer R. 163-172. London:
Taylor & Francis.Tornstam, L. (1994). Gerotranscendence – a Theoretical and Empiricalexploration. Aging and Religious Dimension. Edited by Thomas, L. E. & Eisenhandler S. A., 203-225. Greenwood Publishing Group: Westport.
Tornstam, L. (1996). Caring for the Elderly. Introducing the Theory of Gerotranscendence as a Supplementary Frame of Reference for Care of Elderly. Scandinavian Journal of Caring Sciences, 10, 144-150.
Wadensten, B. (2005). Introducing Older People to the Theory of Gerotranscendence. Journal of Advanced Nursing, 52(4), 381–388.
Translated Thai References
Amornsirisomboon, P. (1992). Factors Related to Employment Status of Elderly in Thailand. Master’s Thesis (Population and Social Research), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
Chanpueksa, P. (1994). Relationship between Personality, Social Engagement and Life Satisfaction of Thai Elderly in Bangkok. Master’s Thesis (Applied Behavioral Science Research), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
Leemasawatkun, R. (2004). Comparative Study on Self-Esteem, Loneliness and Mental Health of the Elderly in Ban Chantaburi Elderly Home. Master’s Project (Developmental Psychology), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand. [inThai]
National Statistical Office. (2013). Key Finding of Elderly Work in Thailand. Retrieved June 1, 2014, from
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf
[in Thai]
Raksasap, S., Kangwanponsiri, K. & Intharawises, N. (2010). The Project of Suitable Occupation and Earned Income Opportunities in Accordance with Older Workers: Final Report (1st ed.). Bangkok: Research and Development Institute, Ramkhamhaeng University. [in Thai]
Sapinun, L. (2002). Gerotranscendence and Death Preparation Among the Elderly. Master’s Thesis (Gerontological Nursing), Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. [in Thai]
Suton, L. (2008). Application of the Elderly Wisdom to support the programs of Senior Citizens Club : A Case Study in Senior Citizens Council of Thailand (SCCT). Master’s Thesis (Social Welfare Administration and Policy), Thammasat University, Bangkok. [in Thai]
Tengtrirat, J. (1999). General Psychology. Bangkok: Thammasat University. [in Thai]
Vanintanon, N. (2002). Textbook of RB 581 Socialization and Human Development. Bangkok: Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University. [inThai]
Wangsaard, P. (1987). Factors Related to Psychological Health of Elderly in Municipal of Community Kalasin. Master’s Thesis (Population Education), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
References
งามตา วนินทานนท์. (2545). เอกสารคำสอนวิชา วป581 การถ่ายทอดทางสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2542). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประพิศ จันทร์พฤกษา.(2537). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพและการมีส่วนร่วมในสังคมกับความพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปัทมา อมรสิริสมบูรณ์. (2535). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ สค.ม. (วิจัยประชากรและสังคม), มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปราโมทย์ วังสะอาด. (2530). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (ประชากรศึกษา), มหาวิทยาลัยมหิดล.
รวิวรรณ ลีมาสวัสดิ์กุล. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเอง ความว้าเหว่ และสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านจันทบุรี. สารนิพนธ์ วท.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ลดารัตน์ สาภินันท์. (2545). ภาวะธรรมทัศน์ในวัยสูงอายุและการเตรียมตัวเกี่ยวกับความตายของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ พย.บ. (วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ลัดดา สุทนต์. (2551). การใช้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ: ศึกษากรณีชมรมผู้สูงอายุในเครือข่ายของสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ. วิทยานิพนธ์ สส.ม. (การบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf
สมรักษ์ รักษาทรัพย์, กาญจนี กังวานพรศิริ และนงนุช อินทรวิเศษ. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาอาชีพและโอกาสที่จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Czaja, S. J. (1999). Technological Change and the Older Worker. Handbook of the Psychology of Aging. Edited by Birren, J. E. & Schaie, K. W. 547-568.
California: Academic Press.
Erikson, E. H. (1968). Identity: Youth and Crisis. New York: Norton.Kanfer, R. & Ackerman, P. L. (2004). Aging, Adult Development, and Work Motivation. Academy of Management Review, 29(3), 440-458.
Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, 50(4), 370-396.
Taylor & Francis.Tornstam, L. (1994). Gerotranscendence – a Theoretical and Empiricalexploration. Aging and Religious Dimension. Edited by Thomas, L. E. & Eisenhandler S. A., 203-225. Greenwood Publishing Group: Westport.
Tornstam, L. (1996). Caring for the Elderly. Introducing the Theory of Gerotranscendence as a Supplementary Frame of Reference for Care of Elderly. Scandinavian Journal of Caring Sciences, 10, 144-150.
Wadensten, B. (2005). Introducing Older People to the Theory of Gerotranscendence. Journal of Advanced Nursing, 52(4), 381–388.
Translated Thai References
Amornsirisomboon, P. (1992). Factors Related to Employment Status of Elderly in Thailand. Master’s Thesis (Population and Social Research), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
Leemasawatkun, R. (2004). Comparative Study on Self-Esteem, Loneliness and Mental Health of the Elderly in Ban Chantaburi Elderly Home. Master’s Project (Developmental Psychology), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand. [inThai]
National Statistical Office. (2013). Key Finding of Elderly Work in Thailand. Retrieved June 1, 2014, from
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf
[in Thai]
References
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2557, จาก
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlywork55.pdf
สมรักษ์ รักษาทรัพย์, กาญจนี กังวานพรศิริ และนงนุช อินทรวิเศษ. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาอาชีพและโอกาสที่จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Czaja, S. J. (1999). Technological Change and the Older Worker. Handbook of the Psychology of Aging. Edited by Birren, J. E. & Schaie, K. W. 547-568.
California: Academic Press.
Erikson, E. H. (1968). Identity: Youth and Crisis. New York: Norton.Kanfer, R. & Ackerman, P. L. (2004). Aging, Adult Development, and Work Motivation. Academy of Management Review, 29(3), 440-458.
Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, 50(4), 370-396.
Rudinger, G., et al. (1991). Aging and Modern Technology: How to Cope with Products and Services. Work and Aging: A European Perspective. Edited by Snel, J. & Cremer R. 163-172. London:
Taylor & Francis.Tornstam, L. (1994). Gerotranscendence – a Theoretical and Empiricalexploration. Aging and Religious Dimension. Edited by Thomas, L. E. & Eisenhandler S. A., 203-225. Greenwood Publishing Group: Westport.
Tornstam, L. (1996). Caring for the Elderly. Introducing the Theory of Gerotranscendence as a Supplementary Frame of Reference for Care of Elderly. Scandinavian Journal of Caring Sciences, 10, 144-150.
Wadensten, B. (2005). Introducing Older People to the Theory of Gerotranscendence. Journal of Advanced Nursing, 52(4), 381–388.
Raksasap, S., Kangwanponsiri, K. & Intharawises, N. (2010). The Project of Suitable Occupation and Earned Income Opportunities in Accordance with Older Workers: Final Report (1st ed.). Bangkok: Research and Development Institute, Ramkhamhaeng University. [in Thai]
Sapinun, L. (2002). Gerotranscendence and Death Preparation Among the Elderly. Master’s Thesis (Gerontological Nursing), Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. [in Thai]
Tengtrirat, J. (1999). General Psychology. Bangkok: Thammasat University. [in Thai]
Vanintanon, N. (2002). Textbook of RB 581 Socialization and Human Development. Bangkok: Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University. [inThai]
Wangsaard, P. (1987). Factors Related to Psychological Health of Elderly in Municipal of Community Kalasin. Master’s Thesis (Population Education), Mahidol University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
งามตา วนินทานนท์. (2545). เอกสารคำสอนวิชา วป581 การถ่ายทอดทางสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2542). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประพิศ จันทร์พฤกษา.(2537). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพและการมีส่วนร่วมในสังคมกับความพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปราโมทย์ วังสะอาด. (2530). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (ประชากรศึกษา), มหาวิทยาลัยมหิดล.
California: Academic Press.
โรคลูคีเมีย (Leukemia)
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของไขกระดูก ทำให้มีการสร้างเม็ดเลือดขาวจำนวนมากในไขกระดูก จนเบียดบังการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ส่วนเม็ดเลือดขาวที่สร้างนั้น ก็เป็นเม็ดเลือดขาวตัวอ่อน จึงไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคได้ จึงเป็นไข้บ่อย ซึ่งสาเหตุของการเกิดโรคลูคีเมีย มีหลายปัจจัย ทั้งพันธุกรรม กัมมันตภาพรังสี การติดเชื้อ
อาการ
มีไข้สูง เป็นหวัดเรื้อรัง
หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ
อ่อนเพลีย ตัวซีด
การรักษา
ทำได้โดยให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อลดจำนวนเม็ดเลือดขาวหรืออาจใช้เคมีบำบัด เพื่อให้ไขกระดูกกลับมาทำหน้าที่ตามปกติ
โรคเบาหวาน
ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากขาดฮอร์โมนอินซูลิน ทั้งนี้โรคเบาหวาน ถือเป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่ง และเป็น โรคทางพันธุกรรม โดยหากพ่อแม่เป็นเบาหวาน ก็อาจถ่ายทอดไปถึงลูกหลานได้และนอกจากพันธุกรรมแล้ว สิ่งแวดล้อม วิธีการดำเนินชีวิต การรับประทานอาหาร ก็มีส่วนทำให้เกิดโรคเบาหวานได้เช่นกัน
อาการ
ปัสสาสะบ่อย เนื่องจากน้ำตาลที่ออกมาจากไตจะดึงเอาน้ำจากเลือดออกมาด้วย
กระหายน้ำบ่อย
การประยุกต์ใช้