Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง (สัปดาห์ที่ 9) - Coggle Diagram
เรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง (สัปดาห์ที่ 9)
พลเมืองดิจิทัลกับการรู้เท่า
ทันในศตวรรษที่ 21
พลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship)
เป็นพลเมืองที่มีความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตในการบริหารจัดการ ควบคุม กำกับตนรู้ถูก,ผิด รู้เท่าทัน
เป็นบรรทัดฐานในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ
เรียนรู้ที่จะใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด และปลอดภัย พลเมืองดิจิทัลจึงต้องตระหนักโฮกาสและความเสี่ยงในโลกดิจิทัล
ความหลากหลายในสังคม
พหุวัฒนธรรมในศตวรรษที่ 21
ความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทั้งเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์วิถีชีวิตความเชื่อ ศาสนา และประเพณีปฏิบัติที่มีความแตกต่างกัน และมาอยู่รวมกันในสังคมใดสังคมหนึ่ง
การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
สังคมไทย เป็นสังคมพหุฒนธรรม เพราะประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติศาสนา และวัฒนธรรม การเรียนรู้ความแตกต่างเพื่อป้องกันความแตกแยกจึงเป็นสิ่งสำคัญที่คนไทยพึงปฏิบัติ เพื่อพัฒนาชาติไทยให้เจริญก้าวหน้าและสงบสุข
อัตลักษณ์ของสังคมพหุวัฒนธรรม
การอยู่ร่วมกันท่ามกลางความหลากหลายอย่างกลมกลืน ซึ่งความหลากหลายในสังคมพห ุวัฒนธรรม ได้แก่ เชื้อชาติ/ชาติพันธุ์ ศาสนา/ความเชื่อ ภาษา วิถีการดำเนินชีวิต ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณี จารีต ซึ่งทำให้เกิดการผสมผสาน
ประเด็นร่วมสมัยความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรมในศตวรรษที่ 21
1.ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม
ภูมิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายด้านเชื้อชาติมากที่สุดภูมิภาคหนึ่งของโลกจึงได้ชื่อว่าเป็น "ดินแดนพหุสังคม" ซึ่งมีความแตกต่างด้านความเชื่อ วิถีชีวิตภาษา ศาสนา ขนธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
2.ด้านศาสนา
ประชากรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นับถือศาสนาเหมือนกันและต่างกันทำให้มีประเพณีและวัฒนะธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา
ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
พื้นฐานและหลักการของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย เป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอํานาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมืองผู้เป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อําเลือกไปใช้อํา นาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่อุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกําหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน
หลักการสําคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
หลักความเสมอภาค
– ความเสมอภาคทางการเมือง ประชาชนทุกคนสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองได้อย่างเท่าเทียมกัน
– ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ ประชาชนทุกคนต้องไม่ถูกกีดกันในการประกอบอาชีพ การประกอบการต้องเป็นไปอย่างเสรีเป็นธรรมไม่มีการผูกขาดทางการค้ารูปแบบการจัดแสดง
– ความเสมอภาคทางโอกาส บุคคลสามารถจะได้รับการศึกษา การรักษาพยาบาลและการให้บริการจากรัฐอย่างเท่าเทียมกัน
หลักสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่
สิทธิ คือ อํา นาจอันชอบธรรม หรือประโยชน์ที่กฎหมายรับรองและคุ้มครอง
เสรีภาพ คือ การมีอิสระที่จะกระทํา สิ่งใด ๆ โดยต้องไม่ละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น
หน้าที่ คือ สิ่งที่บุคคลต้องปฏิบัติหรืองดเว้นจากการปฏิบัติบุคคลย่อมมีสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ซึ่งการใช้สิทธิ เสรีภาพต้องไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น และต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนภายใต้กฎหมาย
หลักนิติธรรม
การใช้กฎหมายเป็นหลักในการบริหารประเทศ บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องใช้กฎหมายต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่เลือกปฏิบัติ
หลักการใช้เหตุผล
คือ การใช้หลักเหตุผลมาเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจ และหากมีการตัดสินปัญหาด้วยการออกเสียงต้องยอมรับมติของเสียงข้างมาก แต่ต้องเคารพสิทธิของเสียงส่วนน้อย
หลักการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรง
– ทางตรง คือการใช้สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ เช่น การแสดงความคิดเห็น การออกเสียงประชามติ การขอรับรู้ข้อมูลข่าวสารราชการ การชุมนุม การร้องทุกข์ส่วนราชการ
– ทางอ้อม คือ การเลือกตั้งตัวแทน เช่น ส.ส. , ส.ว. ไปทําหน้าที่ในการออกกฎหมายและบริหารประเทศ
ความรู้สึกที่เรียนวันนี้ สนุกมากค่ะ เรียนวิชานี้ทีไรหลับไม่ลงเลยค่ะ อาจารย์คุยเพลินมาก