Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร, หน่วยที่ 7…
การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการกำหนดระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภทหรือสาขาของผลิตภัณฑ์การเกษตร
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
กระบวนการทางเกษตรกรรม
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ภายในประเทศ
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
โครงสร้างการจัดการองค์การในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ
องค์กรเอกชน
องค์กรภาคประชาชน
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กำหนดยุทธศาสตร์
การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
การติดตามและประเมินผล
การพัฒนาระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นปัญหาในด้านระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นศักยภาพ
แนวคิดในการพัฒนา
การบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพทันกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
การพัฒนาองค์ประกอบของการเกษตรกรรม
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการปฏิรูป
ความสามารถของการสื่อสาร
ประสิทธิภาพของการสื่อสาร
การสร้างการรับรู้ เข้าใจ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วม (ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ และร่วมตรวจสอบ)
ผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีสมัยใหม่
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร ขั้นตอนของเกษตรกรรม
ลักษณะเชิงพฤติกรรมของภาคีพัฒนา
ทิศทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเกษตรกรรม
ผลการดำเนินงานในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผลการพัฒนาด้านการเกษตรตามแผนพัฒนาการเกษตรในร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP
ผลิตภาพการผลิตทางการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตภาคเกษตร
ผลการพัฒนาด้านการเกษตรตามแผนพัฒนาการเกษตรในร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
ความผาสุกของเกษตรกร
การเติบโตของเศรษฐกิจภาคเกษตร
พื้นที่การเกษตรได้รับการบริหารจัดการ
ปัจจัยเสี่ยงและข้อจำกัดในการพัฒนาการเกษตร
การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นที่ต้องแก้ไข
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้มีความพร้อมที่จะผลักดันการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการเกษตรไปสู่การปฏิบัติ
ประเด็นการพัฒนาจากนโยบายรัฐบาล
ประเด็นจากหลักการปฏิรูปการเกษตรของประเทศ
การปฏิรูป
ส่งเสริมแนวคิดทางการบริหารสมัยใหม่มาเพิ่มประสิทธิภาพ ในกระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์ และการนำไปปฏิบัติ
ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสร้างความก้าวหน้า
สร้างความเข้มแข็งให้ภาคีพัฒนา ทั้งรัฐ เอกชน และประชาชน
ส่งเสริมการทำการเกษตรที่สมดุลและยั่งยืน
ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา
ส่งเสริมให้นำการตลาดมาขับเคลื่อนการพัฒนาการเกษตร
หน่วยที่ 7 การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7