Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบประสาท, สาเหตุหลักที่ทำให้เกิด, โครงสร้างของหู, Aura,…
โรคระบบประสาท
2.โรคลมชัก (Epilepsy)
Definition
โรคลมชัก(epilepsy)
โรคที่ผู้ป่วยมีอาการชักซ้ำ โดยที่ไม่มีปัจจัยกระตุ้น
(provoking factor)
รักษาเร็วยิ่งดี
อาการชัก(seizure)
การทำงานของเซลล์สมองเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลัน
Classification
(การจัดหมวดหมู่)
การแบ่งกลุ่มโรคลมชัก
1.Partial or focal seizure
เป็นการชักที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
2.Generalized seizure
มักเกิด 2 ข้างเท่านั้นเพราะคนไข้ไม่รู้สึกตัว
Impact of Epilepsy(ผลกระทบ)
ด้านอาชีพ
คือ อันตรายถึงชีวิต เช่น ห้ามขับขี่รถยนต์
ด้านอุบัติเหตุ
คือ บาดเจ็บ/ตาย เช่น อาการกำเริบขณะขับขี่รถยนต์
ผลต่อด้านสังคม
คือ ผู้เป็นโรคจะถูกสังคมรังเกียจ
Diagnosis(การวินิจฉัย)
แพทย์จะทำการวินิจฉัยตามอาการชัก
EEG
Risk factors
(ปัจจัยเสี่ยง)
มีไข้สูงโดยเฉพาะเด็ก
มีประจำเดือน
อดนอน
ดื่มแอลกอฮอล์มากผิดปกติ
ข้อควรปฏิบัติในผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
เช่น อดนอน
รับประทานยากันชักสม่ำเสมอ
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดโรคลมชัก
เช่น ขับขี่รถยนต์
3.เวียนศีรษะ (Dizziness)
พบมากในผู้สูงอายุ
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
2.Disequilibrium(เดินไม่สมดุล)
1.Vertiqo(อาการบ้านหมุน)
4.Liqhtheadedness(มึนงง จะเป็นลม)
3.Presvncope(วูบ)
3.1.Vertiqo(อาการวินเวียน)
สาเหตุ
หูชั้นในอักเสบ เกิดจากการติด
เชื้อไวรัสที่มาจากหูชั้นกลางที่อักเสบ
อื่นๆ เช่น เนื้องอกในหู
ความผิดปกติของอวัยวะที่มีหน้าที่รับรู้
การเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น หูชั้นกลาง
โรคที่เป็นสาเหตุ
Beniqn paroxymal positional vertigo:
(BPPV) เวียนศีรษะเมื่อเปลี่ยนท่า
Vestibular neuronitis (labyrinthtis)
เกิดจากการอักเสบของหูชั้นในจากเชื้อไวรัส
Meniere's diseaseเกิดจากปริมาณ
endolymp มากเกินจนแน่นทำให้หูอื้อ
ประเภทมีอยู่ 2 ประเภท
2.Periqheral vertigo เกิดจากสาเหตุ
นอกระบบประสาทส่วนกลาง
1.Central Vertigo เกิดจากสาเหตุ
ระบบประสาทส่วนกลาง
3.2.Motion sickness(อาการเมารถเมาเรือ)
เป็นอาการที่เกิดจาก
ระบบการทรงตัวของร่างกาย
1.ปวดศีรษะ (Headache)
แบ่งได้ 2 แบบ
1.Primary headache
(อาการปวดหัวเบื้องต้น)
คือ
อาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นโดยไม่มีพยาธิสภาพของสมอง
หรืออวัยวะข้างเคียง
ไม่มีโรคทางกายอื่นๆที่ทำให้เกิด
2.Secondary headache
(อาการรอง)
คือ
การปวดศีรษะที่มีอาการทางพยาธิสภาพของ
สมองหรืออวัยวะข้างเคียง
สาเหตุหลักที่ทำให้เกิด
1.1.migraine
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
อาการ
เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าจากภายนอกและภายในร่างกาย เช่น
โดนแสง ความร้อน การมีประจำเดือน
ลักษณะเฉพาะ
ของการปวดไมเกรน
คือ ปวดกระบอกตาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง
ประเภทของ
ไมเกรน
2.Migrine with aura
ผู้ป่วยมีอาการนำหรืออาการเตือนก่อนที่จะมีอาการปวดศีรษะพบประมาณร้อยละ 15- 30 ของผู้ป่วยไมเกรน
1.Migraine without aura
เป็นกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการปวดศีรษะอย่างเดียวโดยปวดข้างละประมาณ 4 ถึง 7 ชั่วโมง มีอาการปวดตุ๊บๆตั้งแต่ระดับปานกลางถึงรุนแรง
Trigger Factor
(ปัจจัยกระตุ้น)
สิ่งแวดล้อม
ลักษณะการใช้ชีวิต
การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในร่างกาย
อารมณ์
Phase of Migraine
(ระยะของไมเกรน)
1.Premonitory phase
(ระยะเริ่มต้น)
อาการที่พบ
Psychologic เช่น anxiety(ความวิตกกังวล)
Autonomic เช่น ฉี่บ่อย,ท้องเสีย
Neurologic เช่น กลัวเสียง,แสง
Constitutional เช่น อยากกินอาหารบางอย่างเป็นพิเศษ
2.Attack phase
(ระยะปวดศีรษะ)
อาการ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1.Classical Migraine
(Migraine with aura)
2.Common Migraine
(Migraine without aura)
3.Resolution phase
(ระยะหลังปวดศีรษะ)
อาการ
เหนื่อยๆ บางคนมีความสุขมาก
Severity
(ความรุนแรง)
Mild คือ ไม่มีผลต่อการใช้ชีวิต เรียนได้ ทำงานได้
Moderate คือ เริ่มรบกวนการใช้ชีวิต แต่ยังสามารถไปทำงานได้
Severe คือ รุนแรงต้องลางาน
Status คือ เป็นนานกว่า 72 ชั่วโมง
Frequency of migraine
(ความถี่ของไมเกรน)
Episodic Migraine คือ น้อยกว่า 15 วัน
Chronic Migraine คือ มากกว่า 15 วัน
Goal of treatment เช่น ป้องกันการเกิดซ้ำ
1.3.Tension headache
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
พบในช่วงน้อยกว่า 20 ปี ปวดแบบมีอะไรมากดหัว
Trigger
ความเครียด,กล้ามเนื้อหลังไหล่
เกิดการเกร็ง,นอนไม่พอ
Diagnosis
มีอาการ 30 นาที-7วัน
ต้องมีอาการ
อย่างน้อย 2อย่าง
ไม่มีคลื่นไส้ อาเจียน
ไม่กลัวแสง,เสียง
ปวดน้อยกว่า 15 วัน/เดือน
1.2.Cluster headache
พบในชายมากกว่าผู้หญิง
เป็นอาการปวดที่รุนแรงมากและ
อาการอื่นร่วมด้วย เช่น ตาบวม,ตาตก
ไม่มีสาเหตุอยู่ดีๆก็ปวดมาเป็นชุดๆพบในช่วงมากกว่า 20 ปี
โครงสร้างของหู
หูชั้นนอก
ใบหู ทำหน้าที่ รับเสียงแล้วส่งเข้าช่องหู
ช่องหู ช่องรับเสียงภายนอก
หูชั้นใน
ควบคุมสมดุลการทรงตัว
เคลื่อนไหวเมื่อถูกกระตุ้นด้วย
ความสั่นสะเทือนของเสียง
หูชั้นกลาง
แก้วหู
จะแปลงเสียงเป็นแรงสั่น
สะเทือนไปยังกระดูกค้อน ทั่ง โกลน
อาการและการแสดง
ระบบอัตโนมัติเป็นอาการนำเช่นคลื่นไส้อาเจียน
Aura
Visual aura(ออร่าภาพ)
Positive คือ จะมีแสงวูบวาบออกมา
Negative คือ จะเกิดการมองไม่เห็น
Sansory and motor aura
(ออร่าประสาทสัมผัสและมอเตอร์)
Positive เช่น แสบร้อนที่ผิวหนัง
Negative เช่น มีอาการชาบริเวณที่เป็น
มี aura ร่วมด้วย
เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ โรคทางกายหรือการเป็นโรค
เช่น
อาการปวดศีรษะจากไข้
ถ้ามีอาการมากกว่า 72 ชั่วโมง เรียกว่า Status-migraine
ปวดตุบๆ คลื่นไส้ อาเจียน