Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อสอบแบบเลือกตอบ - Coggle Diagram
ข้อสอบแบบเลือกตอบ
วิธีการสร้าง
โจทย์ (stem) และคำถาม (lead-in) เป็นส่วนที่ให้ข้อมูลเพื่อใช้ในการตอบคำถาม อาจมี รูปภาพ กราฟหรือแผนภูมิประกอบ
ตัวเลือก (optionหรือalternative) เป็นคำตอบที่ให้ผู้สอบเลือกตอบ โดยทั่วไปอาจมี 4 หรือ 5 ตัวเลือก การมีจำนวนตัวเลือกน้อยเกินไป จะมีโอกาสเดาได้ถูกมากขึ้น ตัวเลือก 5 ข้อ จะมีความเที่ยง (reliability) มากที่สุด อย่างไรก็ตามในบางกรณี การหาตัวเลือกที่ 5 เป็นเรื่องที่ยากมากหรือไม่มีโอกาส เป็นไปได้ ก็อาจใช้เพียง 4 ตัวเลือก ส่วนการใช้ตัวเลือกมากกว่า 5 ข้อ ก็ไม่มีความจำเป็นและไม่ทำให้ อำนาจการจำแนกสูงขึ้น
-
ตัวลวง (distractor) เป็นตัวเลือกที่เป็นคำตอบที่ไม่ถูกต้อง เพื่อลวงให้ผู้สอบเลือกตอบ การสร้างตัวลวงที่ดี จะทำให้ความเที่ยงของข้อสอบข้อนั้นดีขึ้น
-
ข้อดี/ข้อเสีย
ข้อดี
-
-
มีการให้คำตอบที่ถูกต้องก่อนการสอบ การให้คะแนนมีความเที่ยงหรือเชื่อถือได้ (reliability) ลดปัญหาการให้คะแนนระหว่างผู้ประเมิน
-
-
-
-
ข้อเสีย
-
-
-
แม้ว่าจะวัดความรู้ได้หลายระดับ ข้อสอบมีแนวโน้มที่จะเป็นการวัดความรู้ระดับ “ความจำ” การสร้างข้อสอบเพื่อวัดการแก้ปัญหาหรือความคิดสร้างสรรค์ทำได้ไม่ง่ายนัก
การสร้างข้อสอบที่มีคุณภาพต้องอาศัยความตั้งใจความใส่ใจอย่างจริงจัง เสียเวลาและอาศัย ความร่วมมือของผู้สร้างข้อสอบ
-
มีโอกาสใช้ข้อสอบซ้ำ ผู้สอบจำข้อสอบได้ถ้ามีจำนวนข้อสอบไม่มาก ดังนั้นจึงมีความจำเป็น ที่ผู้สอนต้องสร้างข้อสอบให้มากพอเพื่อเก็บไว้ในคลังข้อสอบ
-
ข้อสอบแบบเลือกตอบ เป็นเครื่องมือวัดผลที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เหมาะสำหรับการประเมินด้านพุทธิพิสัยหรือความรู้ของผู้เรียนมีความเป็นปรนัยสูง คือสามารถให้คะแนนได้ใกล้เคียงกันแม้ว่าผู้ประเมินจะคนละคนกัน นอกจากนั้นยังสามารถบริหารจัดการสอบได้ง่ายเหมาะกับผู้เรียนจำนวนมากแต่ก็ยังมีปัญหาและข้อจำกัดในการสร้างข้อสอบ ทำให้ได้ข้อสอบที่ไม่ดีส่งผลให้ไม่สามารถประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง การสร้างข้อสอบที่ดีจะต้องอาศัยทั้งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อสอบแบบเลือกตอบ และประสบการณ์ของผู้ประเมิน จึงจำเป็นที่ผู้ประเมินควรให้เวลาและความสำคัญกับการสร้างข้อสอบ เพื่อจะได้ข้อสอบที่มีคุณภาพวัดได้ตรงตามสิ่งที่ควรจะวัด และตรงตามวัตถุประสงค์ของเครื่องมือ