Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา - Coggle Diagram
กรณีศึกษา
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory)
ผู้ป่วยมีผมหงอก ผมบาง และเลนส์ตาขุ่น
Melatonin ทำงานลดลง >>> ผมหงอก
ต่อมไขมันลดลง >>> การงอกของเส้นผมลดลง >>> ผมบาง
เลนส์ตาหนาตัว แข็ง จากการมีโปรตีนหุ้มเลนส์ มากขึ้น >>> มีความโค้งลดลง >>> เลนส์ตาขุ่น
ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (Neuroendocrine theory)
ผู้ป่วย E4VTM6 มีโรคประจำตัวเป็น โรคเบาหวาน มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง (25/10/64) อยู่ระหว่าง 168-275 mg%
โดยปกติแล้วร่างกายจะผลิตฮอร์โมนชนิดหนึ่งที่ชื่อว่าอินซูลิน (Insulin) ซึ่งสร้างขึ้นมาจากตับอ่อนของเรา ทำหน้าที่ในการดึงน้ำตาลในเลือดที่มีอยู่มากเข้าสู่เซลล์
และถ้าหากตับอ่อนมีการหลัง Insulin ลดลงและช้าลง ซึ่งน้ำตาลในเลือดขณะที่อดอาหารยังคงที่ แต่มีการตอบสนองต่อ Insulin ที่ลดลง ส่งผลให้ glucose tolerance ลดลง จะทำให้น้ำตาลค้างอยู่ในหลอดเลือดนานเกิน จนเกิดระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น หรืออาจเป็นเพราะ Glucagon ทำงานลดลง ตอบสนองช้า ก็จะส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงได้เช่นกัน
ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิดโรคเบาหวานนั้นเกิดจากการทำงานของฮอร์โมนอินซูลินและฮอร์โมนกลูคากอน ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่
ซึ่ง Insulin จะทำงานควบคู่กับ glucagon ที่ทำหน้าที่ นำน้ำตาลในเลือดออกมาใช้งานในกรณีที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป
- Diabetic Mellitus (DM)
เกิดจากการที่ตับอ่อนมีขนาดลดลง -> pancreatic duct ขยายตัวขึ้นมี Acinar cell atrophy + มีการสะสมของไขมัน + Lipofuscin + Lysosome ในเซลล์ตับเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้น้ำตาลในเลือดสูงมากขึ้น จากการที่ตับผลิต Insulin ลดลง
ทฤษฎีภูมิคุ้มกัน (Immunological Theory)
มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ และใส่ท่อช่วยหายใจ
ระดับฮอร์โมนที่ลดลง และเซลล์ในร่างกายที่เสื่อมลง ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันถดถอย ส่งผลทำให้เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกาย เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ทฤษฎีสะสมของเสีย (Waste Product Accumulation)
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน
เกิดจากมีการสะสมของไขมัน + Lipofuscin + Lysosome ในเซลล์ตับที่ตับเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ตับมีขนาดลดลง ประสิทธิภาพการผลิด Insulin ลดลง ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงมากขึ้น
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free Radical Theory)
ผู้ป่วยมีกระ ตามร่างกาย และใบหน้า
การสร้างของ Elastin & Collagen fiber ที่ลดลง ทำให้ผิวหนังบางลง โดนแสงแดดมากๆ >>> Pigment สะสมแต่ละจุดมากขึ้น >>> กระ
ทฤษฎีการเชื่อมไขว้ (Cross link Theory on cross link of collagen T.)
ผู้ป่วยมีผิวหนังที่เหี่ยวย่น แห้ง หยาบกร้านและผิวแตกเป็นขุย บริเวณใบหน้าและตัวมีกระ มีตีนกาและมีฟันร่วงจากการที่เหงือกร่น
ผิวหนังเหี่ยวย่น ตีนกา
โดยปกติทั่วไปผิวหนังมีคอลลาเจนเป็นโครงสร้างอยู่มาก จึงมีแรงสปริงและยืดหยุ่นดี ซึ่งการที่ผิวหนังมีความบางลงและเกิดการเหี่ยวย่นที่ ใบหน้า ลำคอ แขนและมือ เกิดจากการสร้างของ Elastin & Collagen fiber ที่ลดลง
ผิวหนังแห้งและหยาบกร้าน
เกิดจากต่อมเหงื่อลดลง ต่อมไขมันใต้ผิวหนังเกิดการเสื่อมและมีจำนวนลดลง อาจเกิดอาการคันจากผิวหนังที่แห้งและหยาบกร้าน
ผิวแตกเป็นขุย
เกิดจากความชื้นของผิวหนังชั้น stratum corneum ลดลง ทำให้ผิวหนังบางลง และหนังกำพร้ามีความชุ่มชื่นลดลง ทำให้ผิวแตกง่ายและแผลหายยาก
ใบหน้าและตัวมีกระ
การสร้างของ Elastin & Collagen fiber ที่ลดลง ทำให้ผิวหนังบางลง โดนแสงแดดมากๆ >>> Pigment สะสมแต่ละจุดมากขึ้น >>> กระ
เหงือกร่น ฟันร่วง
เคลือบฟันบางลง >>> ฟันสีคล้ำ + เหงือกร่น >>> ฟันยาวขึ้น + cell สร้างฟันลดลง + พังผืด >>> ฟันร่วง