Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 โครงสร้างของหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง - Coggle Diagram
บทที่ 10
โครงสร้างของหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
10.1 โครงสร้างของดิสก์
แผ่นวงกลมที่มีขนาด 2-5.25 นิ้วเรียงซ้อนกัน (Disk) ซึ่งจะถูกบรรจุอยู่ภายในกล่องที่ปิดสนิทกันฝุ่นและอากาศ ภายในฮาร์ดดิสก์จะมีหัวอ่าน 2 หัวต่อแผ่นดิสก์ 1 จาน พื้นผิวจาน (Platter) มีแบ่งส่วนภายใน(Track) Track แบ่งออกเป็นส่วน ๆ ตามแนวเส้นผ่านศูนย์กลางที่เรียกว่า เซ็กเตอร์ (Sector) และไซลินเดอร์ (Cylinders) จะใช้เรียกต่าแหน่งของ Track ของ Platter
10.2 การจัดตารางของดิสก์
การจัดตารางแบบมาก่อน-ได้ก่อน (FCFS Scheduling)
การจัดตารางแบบเวลาในการค้นหาสั้นที่สุดได้ก่อน (SSTF Scheduling)
การจัดตารางแบบกวาด (SCAN Scheduling)
การจัดตารางแบบกวาดเป็นวง (C-SCAN Scheduling)
การจัดตารางแบบ LOOK (LOOK Scheduling)
การเลือกวิธีการจัดตารางของดิสก์(Selection of a Disk-Scheduling Algorithm)
10.3 การจัดการดิสก์
การจัดระเบียบดิสก์
(Disk Formatting)
ทำการแบ่งส่วน (Partition)
การจัดระเบียบเชิงตรรกะ (Logical formatting)
บูตบล็อก (Boot Block)
บล็อกเสีย (Bad Block)
10.4การจัดการพื้นที่ที่ใช้ในการสับเปลี่ยน
การใช้พื้นที่ที่ใช้ในการสับเปลี่ยน (Swap-Space Use)
ตำแหน่งของพื้นที่ที่ใช้ในการสับเปลี่ยน (Swap-Space Location)
การจัดการพื้นที่ที่ใช้ในการสับเปลี่ยน (Swap-Space Management)
10.5 ความน่าเชื่อถือของดิสก์
ระดับของ RAID
RAID 0
RAID 1
RAID 2
RAID 3
RAID 4
RAID 5
การนำ RAID มาใช้ร่วมกัน
เพื่อให้ได้เครื่องมือในการท่างานครบถ้วนนั้น การนำข้อดีของ RAID ในแต่ละระดับมารวมกันเพื่อใช้งานอาจทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นก็เป็นได้
ประโยชน์ของ RAID
เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการเก็บข้อมูล และเพิ่มระดับการจัดเก็บด้วย
10.6 การใช้งานหน่วยเก็บข้อมูลชนิดคงที่
ต้องคัดลอกข้อมูลที่ต้องการไปไว้ยังอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลหลาย ๆ ที่ เราต้องการวิธีที่จะท่าให้ข้อมูลทันสมัย
(Update) ที่รับประกันได้ว่าความผิดพลาดในระหว่างการทำข้อมูลให้ทันสมัยจะไม่ทำให้ข้อมูลเสียหาย
ดิสก์จะทำงานจนได้ผลลัพธ์หนึ่งในสามข้อนี้
สำเร็จอย่างสมบูรณ์แบบ (Successful completion)
ล้มเหลวบางส่วน (Partial failure)
ล้มเหลวทั้งหมด (Total failure)