Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การจัดการแฟ้มข้อมูล - Coggle Diagram
บทที่ 9
การจัดการแฟ้มข้อมูล
โครงสร้างของไดเรกทอรี่
การนำไปใช้
ค้นหาแฟ้มข้อมูล (Search for a file)
เมื่อผู้ใช้หรือโปรแกรมเรียกใช้แฟ้มข้อมูลใด ๆ ระบบต้องค้นหาแฟ้มข้อมูลนั้นจากไดเรกทอรี่
สร้างแฟ้มข้อมูล (Create a file)
แฟ้มข้อมูลใหม่จำเป็นต้องถูกสร้างและเพิ่มเข้าในไดเรกทอรี่
ลบแฟ้มข้อมูล (delete a file)
เมื่อแฟ้มข้อมูลไม่ต้องการแล้ว ต้องสามารถลบมันออกจากไดเรกทอรี่
แสดงไดเรกทอรี่ (List a directory)
การดูแฟ้มข้อมูลในไดเรกทอรี่ต้องสามารถแสดงชื่อแฟ้มข้อมูลในไดเรกทอรี่ และเนื้อหาของไดเรกทอรี่สำหรับแต่ละแฟ้มในรายการ
เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (Rename a file)
เพราะว่าชื่อของแฟ้มข้อมูลนั้นมีหลากหลายเนื้อหาและหลากหลายผู้ใช้ เราต้องสามารถเปลี่ยนชื่อ เมื่อเนื้อหาภายในถูกเปลี่ยนหรือมีการใช้แฟ้มข้อมูลนั้นเปลี่ยนแปลงไป
การข้ามระบบแฟ้มข้อมูล
(Traverse the file system)
การสามารถเข้าถึงในหลาย
ไดเรกทอรี่และหลาย ๆ แฟ้มข้อมูลภายในโครงสร้างไดเรกทอรี่ สำหรับความน่าเชื่อถือ
ไดเรกทอรี่ระดับเดียว
(Single-Level Directory)
ไดเรกทอรี่ระดับเดียว แฟ้มข้อมูลทั้งหมดจะถูกเก็บไว้ในไดเรกทอรี่เดียว เป็นโครงสร้างไดเรกทอรี่ที่ง่ายต่อการศึกษาและเข้าใจ
ไดเรกทอรี่สองระดับ
(Two-Level Directory)
โครงสร้างของไดเรกทอรี่สองระดับ แต่ละผู้ใช้จะมีไดเรกทอรี่ของตนเอง (User file directory : UFD) โดยจะสร้างโครงสร้างจำลองขึ้นมาสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว เมื่อผู้ใช้เริ่มใช้งานระบบหลัก (Master file directory :MFD) ถึงจะทำการค้นหา MFD จะเป็นตัวดัชนีสำหรับผู้ใช้ และแต่ละจุดจะเป็นที่ไปยังผู้ใช้แต่ละคน
ไดเรกทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้
(Tree-structured directory)
การอ้างชื่อแฟ้มข้อมูลแบบสัมบูรณ์
(Absolute path name)
เป็นการอ้างถึงแฟ้มข้อมูลโดยเริ่มจากราก (Root) เสมอ ตามด้วยชื่อไดเรกทอรี่ย่อยไล่ลงมาตามลำดับชั้นของไดเรกทอรี่จนกระทั่งถึงไดเร็กทอรีที่บรรจุแฟ้มข้อมูลอยู่ และจบลงด้วยชื่อแฟ้มข้อมูลนั้น
การอ้างชื่อแบบสัมพัทธ์
(Relative path name)
เป็นการอ้างถึงแฟ้มข้อมูลโดยที่ผู้ใช้จะต้องเข้าใจในเรื่องระบบไดเรกทอรี่ปัจจุบัน (Currentdirectory) เนื่องจากการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูลจะเริ่มต้นจากไดเรกทอรี่ปัจจุบันแล้วไล่ไปตามลำดับชั้นของไดเรกทอรี่ที่แฟ้มข้อมูลนั้นอยู่และจบลงด้วยชื่อแฟ้มข้อมูลนั้น
ไดเรกทอรี่กราฟแบบไม่เป็นวงจร
(Acyclic-Graph Directory)
ไดเรกทอรี่แบบกราฟโดยทั่วไป
(General Graph Directory)
แนวคิดเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล
โครงสร้างตามชนิดข้อมูล
Text File
ลำดับของตัวอักษรที่เรียงกันในบรรทัด
Source File
ลำดับของโปรแกรมย่อย (Subroutine) และฟังก์ชัน
Object File
ลำดับของไบต์ ที่จัดเรียงในบล็อคที่ตัวเชื่อมโยง (Linker) ของระบบเข้า
Executable File
ลำดับของส่วนของรหัสโปรแกรมซึ่งตัว Load โปรแกรม (Loader)นำเข้ามายังหน่วยความจำและสั่งให้ทำงาน (Execute)
คุณลักษณะของแฟ้มข้อมูล (File Attributes)
ตัวระบุ (Identifier)
แท็กที่ไม่ซ้ำกันนี้มักจะเป็นหมายเลขตัวระบุแฟ้มข้อมูลภายในระบบแฟ้ม
ประเภท (Type)
ข้อมูลนี้จำเป็นสำหรับระบบที่สนับสนุนประเภทต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูล
ตำแหน่ง (Location)
ข้อมูลนี้เป็นตัวชี้ไปยังอุปกรณ์และตำแหน่งของแฟ้มที่อยู่ในฮาร์ดดิสก์
ขนาด (Size)
จะบอกขนาดปัจจุบันของแฟ้มข้อมูล (หน่วยเป็นไบต์) ซึ่งขนาดสูงสุดจะถูกกำหนดเอาไว้
การป้องกัน (Protection)
จะใช้ควบคุมสิทธิ์ในการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ
วันเวลาของผู้ใช้(Time, Date, and User Identification)
ข้อมูลนี้จะถูกเก็บไว้เมื่อมีการแก้ไขแฟ้มข้อมูลนี้ในครั้งล่าสุด ซึ่งมีประโยชน์สำหรับป้องกันความปลอดภัย
ชื่อ (Name)
ชื่อแฟ้มข้อมูลที่เป็นสัญลักษณ์เป็นเพียงข้อมูลที่เก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้โดยมนุษย์
การดำเนินการกับแฟ้มข้อมูล
(File Operations)
การสร้างแฟ้มข้อมูล (Creating a file)
การเขียนแฟ้มข้อมูล (Writing a file)
อ่านแฟ้มข้อมูล (Reading a file)
ที่เก็บแฟ้มข้อมูลภายในแฟ้ม
(Repositioning within a file)
การลบแฟ้มข้อมูล (Deleting a file)
การตัดทอนแฟ้มข้อมูล (Truncating a file)
ประเภทของแฟ้มข้อมูล (File types)
โครงสร้างของแฟ้ม (File Structure)
บิต (Bit : Binary Digit)
หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุดที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำภายในคอมพิวเตอร์ซึ่งบิตจะแทนด้วยตัวเลข คือ 0 หรือ 1 อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
ไบต์(Byte)
หน่วยของข้อมูลที่นำบิตหลาย ๆ บิตมารวมกันแทนตัวอักษรแต่ละตัว
เขตข้อมูล (Field) หรือคำ (Word)
หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการน าอักขระหลาย ๆ ตัวมารวมกัน เพื่อแทนความหมายของสิ่งหนึ่งเป็นคำที่มีความหมาย
ระเบียน (Record)
หน่วยของข้อมูลที่มีการนำเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน
แฟ้มข้อมูล (File)
หน่วยของข้อมูลที่มีการนำระเบียนหลาย ๆ ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน
ฐานข้อมูล (Database)
หน่วยของข้อมูลที่มีการนำแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลภายใน
(Internal File Structure)
ในระบบดิสก์ มักมีขนาดของบล็อกที่กำหนดโดยขนาดของเซกเตอร์ การเข้าใช้พื้นที่ในดิสก์ทั้งหมด(Disk I/O) ถูกแบ่งเป็นหน่วยของบล็อก (Physical record) และทุกบล็อกมีขนาดเท่ากัน
วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้อมูล
วิธีเข้าถึงโดยลำดับ (Sequential Access)
เก็บข้อมูลไว้โดยเรียงไปตามลำดับ วิธีที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลขึ้นอยู่กับระยะทางของตำแหน่งของข้อมูลที่บรรจุไว้ในสื่อนั้น
การเข้าถึงโดยตรง (Direct Access)
การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ
วิธีการเข้าถึงอื่นๆ
(Other Access Methods)
การป้องกันข้อมูลสูญหายของข้อมูล
ชนิดของการเข้าถึงแฟ้มข้อมูล
(Types of Access)
อ่าน (Read) อ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล
เขียน (Write) เขียนหรือเขียนซ้ำแฟ้มข้อมูล
ดำเนินการ (Execute) อ่านแฟ้มข้อมูลแล้วเอาเข้าไปในหน่วยความจำแล้วดำเนินการกับแฟ้มข้อมูลนั้น
เพิ่ม (Append) เขียนข้อมูลใหม่จนกระทั่งจบแฟ้มข้อมูล
ลบ (Delete) ลบแฟ้มข้อมูลออกไปทำให้เกิดพื้นที่ว่าง
รายการ (List) แสดงชื่อและส่วนประกอบต่างๆ ของแฟ้มข้อมูล
รายการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลและกลุ่ม
(Access Lists and Groups)
ส่วนของ AROs
(Access Request Objects)
ตรงนี้จะเป็นการกำหนด Object ที่ทำการร้องขอ (Request) ฟังก์ชั่นการทำงาน (Action) ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะหมายถึง กลุ่มของผู้ใช้ หรือตัวผู้ใช้เอง สามารถกำหนดเป็น n-level ได้
ส่วนของ ACOs
(Access Control Objects)
ตรงนี้จะใช้กำหนดทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
ของเราที่ต้องการจะกำหนดสิทธิ์ให้กับผู้ใช้บางกลุ่มหรือบางคนในการเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ
แนวทางการป้องกันอื่น ๆ
อีกวิธีการในการป้องกันปัญหาที่จะเชื่อมโยงกับรหัสผ่านที่แฟ้มข้อมูล เช่นเดียวกับการเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น มักจะควบคุมโดยรหัสผ่านเข้าใช้แฟ้มข้อมูลแต่ละแฟ้มข้อมูลสามารถควบคุม