Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3 - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 3
-
- นักศึกษาคิดว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้มารดารายนี้มีน้ำนมไหลน้อย
-
-
-
-
-
-
-
-
16.พยาบาลจะใช้หลักการส่งเสริมการเลี้ยงดู ลูกด้วยนมแม่เพื่อให้เกิดความสำเร็จในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่แก่มารดารายนี้อย่างไร
- จัดเวลาและบรรยากาศที่เงียบสงบเหมาะสมในการนำทารกมาดูดนม
-
1.ประเมินความพร้อมของมารดาและทารก หลีกเลี่ยงการเร่งรีบนำทารกมาดูดนม หรือการพยายามใส่หัวนมเข้าไปในปากทารกควรให้ทารกดูดนมแม่เมื่อพร้อม และแนะนำ มารดาในการให้ทารกอมหัวนม (latch on) ให้ถูกต้องโดยทำอย่างนุ่มนวลไม่รีบเร่ง
4.ช่วยสร้างความมั่นใจให้กับมารดา โดยให้กำลังใจและชมเชยเมื่อมารดาทำได้ถูกต้องชี้ให้มารดาเห็นพฤติกรรมที่ดีของท่ารก เช่นการตื่นตัว การพยายามค้นหาเต้านมของทารกหากวางทารกบนหน้าท้องหรือบนหน้าอกมารดา ทารกจะคลานเข้าหาเต้านมด้วยตนเอง(breast crawl) และช่วยให้มารดาได้เรียนรู้สื่อสัญญาณที่แสดงว่าทารกหิว (feeding cues) เพื่อที่มารดาสามารถห้นมแก่ทารกได้ตามความต้องการของทารก
-
-
- มารดาบอกว่า “เมื่อทารกดูดนมข้างซ้าย จะมีน้ํานมไหลจากเต้านมข้างขวาด้วย และมีอาการปวดมดลูกขณะทารกดูดนม” ควรให้คําแนะนําและการพยาบาลแก่มารดารายนี้อย่างไร
-
-
7.จากข้อมูล 2 วันหลังคลอด คลำพบมดลูกกลมแข็งต่ำกว่าระดับสะดือ 1 นิ้ว น้ำคาวปลาสีแดงจางๆ เป็นภาวะปกติหรือไม่ จงอธิบาย และควรให้การพยาบาลอย่างไร
เป็นภาวะปกติหลังคลอดบุตร มดลูกจะมีขนาดเล็กลงทันที สามารถคลำมดลูกต่ำกว่าระดับสะดือ มีลักษณะกลมและแข็ง และการที่มารดาหลังคลอดมีเลือดและน้ำคาวปลาถือเป็นภาวะปกติ 1 – 3 สัปดาห์หลังคลอดน้ำคาวปลามีสีแดงเรียกกว่า Lochia rubra
การพยาบาล
1.แนะนำให้มารดาใส่ผ้าอนามัยรองรับเลือดที่ออกทางช่องคลอด และเปลี่ยนเมื่อชุ่ม/บันทึกปริมาณเลือดที่ออกก่อนทิ้ง
2.มารดาหลังคลอดควรจะอาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ไม่ควรอาบน้ำโดยการแช่ลงในอ่างหรือแม่น้ำลำคลอง เพราะจะติดเชื้อเข้าไปทางช่องคลอดเข้าสู่โพรงมดลูกได้ง่าย และควรเปลี่ยนเสื้อผ้าให้สะอาดด้วย
3.การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ต้องแนะนำให้มารดาหลังคลอดทำความสะอาดโดยใช้สบู่และน้ำสะอาด ซับให้แห้งอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งและภายหลังการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะทุกครั้ง
วิธีปฏิบัติที่ทำความสะอาด คือ จากด้านหน้าไปด้านหลัง ซับจากบนลงล่างไม่ย้อนขึ้นลงและไม่ให้ถูกทวารหนัก
- มารดามีหน้าวิตกกังวล หงุดหงิดง่าย บางคร้ังร้องไห้คนเดียว มารดารายน้ีมีภาวะใด จงอธิบาย
และควรให้การพยาบาลอย่างไร
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum Blue) ผู้ป่วยอาจมีอารมณ์เศร้า อ่อนเพลียหลังจากการคลอด มีการร้องไห้เป็นพักๆ อารมณ์ แกว่งๆ มีความวิตกกังวล หรืออาจมีความรู้สึกไม่อยากทำอะไรคงอยู่นานกว่า 2 สัปดาห์ และ มีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันและการเลี้ยงดูทารก
การพยาบาล
1.ดูแลช่วยเหลือประคับประคองและตอบสนองความต้องการของมารดาหลังคลอดทางด้านร่างกายในเรื่อง ของการรับประทานอาหารการพักผ่อน การรักษาความสะอาดของร่างกายการขับถ่ายการทำกิจกรรม ต่างๆ ลดภาวะไม่สุข สบายต่างๆ รวมทั้งการประคับประคองทางด้านจิตใจ
-
-
4.พยาบาลควรอธิบายให้สามีและญาติเข้าใจถึงความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ของมารดาหลังคลอด สนับสนุนให้มารดาหลังคลอดได้พูดคุยกับสามีญาติรวมทั้งมารดาหลังคลอด รายอื่นๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด เห็นและ ประสบการณ์
5.สังเกตอาการผิดปกติทางด้านจิตใจที่อาจจะเกิดขึ้นให้ความสนใจทั้งค้าพูดและพฤติกรรมที่แสดงออก เพื่อประเมินสภาพจิตใจละให้การพยาบาลช่วยเหลือแต่เนิ่นๆก่อนที่อาการทางจิตจะรุนแรงมากขึ้น
- เมื่อพยาบาลสอนวิธีการอาบน้ําทารก มารดาบอกว่า “ทําไม่ถูก กลัวลูกจมน้ํา” การปรับตัวด้าน
จิตสังคมระยะหลังคลอดเหมาะสมหรือไม่อย่างไร จงอธิบาย และควรให้การพยาบาลอย่างไร
ไม่เหมาะสม เนื่องจากมารดาอยู่ในช่วง 2 วันหลังคลอด ซึ่งในช่วงนี้จะอยู่ในระยะ Taking in phase เป็นระยะที่เริ่มเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา หรือระยะพึ่งพา มารดาจะยังมีความไม่สุขสบายจากการปวดแผลฝีเย็บอยู่ แต่มารดาก็ต้องเริ่มเรียนรู้ในการดูแลทารก อาจจะมีการพึ่งพาในบางอย่าง แต่ก็ต้องพยายามเรียนรู้ให้ได้มากที่สุด เพื่อพัฒนาไปในระยะถัดไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาล
1.ดูแลช่วยเหลือประคับประคองและตอบสนองความต้องการของมารดาหลังคลอดทั้งทางด้านร่างกายและด้านจิตใจ เพื่อให้สุขภาพร่างกายและจิตใจ กลับมาดีขึ้น
2.ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่อบอุ่นเห็นอกเห็นใจ เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้สึกว่ามีผุ้สนใจเอาใจใส่ เกิดความอบอุ่นใจ
3.เปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึกและซักถามเกี่ยวกับข้อสงสัยที่มารดามี เพื่อลดความวิตกกังวลในการดูแลทารก
4.จัดเวลาให้มารดาและทารกได้อยู่ด้วยกันโดยให้มารดาได้ฝึกอุ้มและสัมผัสตัวทารกเพื่อให้มารดาเกิดความผูกพันธ์และลดความวิตกกังวล
-
19.จากข้อมูลในระยะ 3 วันหลังคลอด นักศึกษาจะกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลและวางแผนการพยาบาลแก่มารดาและทารกรายนี้อย่างไร
-
-
20.นักศึกษาจะกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลและการวางแผนการพยาบาลแก่มารดาและทารก ในระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอดรายนี้อย่างไร
เสี่ยงภาวะตกเลือดหลังคลอดภายหลัง จากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Late or delayed PPH) หมายถึง การตกเลือดหลังจากคลอด 24 ชั่วโมงจนถึง 6สัปดาห์หลังคลอด
การพยาบาล
- งดการมีพศสัมพันธ์ควรงดจนกวาจะได้การตรวจหลง
คลอดเมื่อครบ 4-6 สัปดาห์
และ Follow up ตามนัด
- ในมารดาหลังคลอดท้องหลังซึ่งการตึงตัวและหดรัดตัวของมดลูกไม่ดีเท่าท้องแรกจึงต้องเฝ้าระวังมากกว่าปกติ
- แนะนำให้มารดาทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น แกงเลียง และทานน้ำประมาณ 2,000-3,000ml เพื่อการเร่งน้ำนม
- ดูแลกระเพราะปัสสาวะให้ว่าง เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวได้ดีแนะนำให้ดูแลความสะอาดอวัยเพศ ไม่สวนล้างช่องคลอด ล้างทำความสะอาดจากหน้าไปหลัง ซับให้แห้งทันที
- สอนและให้คำแนะนำมารดาก่อนกลับบ้านเรื่องการคลึงมดลูก และการสังเกตความผิดปกติ เช่น มีเลือดสดออกมาเป็นจำนวนมาก หน้ามืด เวียนศีรษะ ตาพร่ามัวให้รีบมาโรงพยาบาลทันที
-
-
-
-
-
-
5.จากข้อมูลที่ตึกหลังคลอด พยาบาลคลำพบลอนก้อนบริเวณระดับสะดือ ภายหลังมารดายังไม่ถ่ายปัสสาวะ ถือ
เป็นภาวะปกติหรือไม่ อย่างไร จงอธิบาย
เป็นภาวะผิดปกติ ที่อาจส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาเช่น มดลูกหดรัดตัวได้ไม่ดีทำให้ตกเลือดหลังคลอด
หรือเกิดการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
-