Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร, หน่วยที่ 3…
กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผู้มีหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายนิติบัญญัติ
ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายตุลาการ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในนโยบายสาธารณะ
กลุ่มผลประโยชน์
พรรคการเมือง
ประชาสังคม
ประชาชนทั่วไป
นโยบาย Policy
แนวทาง ทำขึ้นเพื่อเป็นทิศทางในการตัดสินใจ
แนวทางปฏิบัติเพื่อบรรลุผลลัพธ์
ขั้นตอนของกระบวนการนโยบาย
การก่อตัวของประเด็นสาธารณะ
การนิยามหรือระบุประเด็นปัญหา
การกำหนดวัตถุประสงค์
การวิเคราะห์ทางเลือกการตัดสินใจ
การนำนโยบายไปปฏิบัติ
โครงสร้างการจัดการองค์กร
ระดับส่วนกลาง
ระดับภูมิภาค
ระดับท้องถิ่น
ระบบหรือกระบวนการบริหารงาน
วิสัยทัศน์,พันธกิจ,ปฏิบัติ
การกำหนดยุทธศาสตร์
แปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ
การสื่อสารที่เข้าใจเพื่อนำไปปฏิบัติของแต่ละส่วนราชการทั้งระดับภูมิภาคและท้องถิ่น
กิจกรรมที่กำหนดนโยบาย
ลักษณะของนโยบาย
ทัศนคติต่อนโยบาย
การบูรณาการการปฏิบัติของทุกภาคี การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
นโยบายสาธารณะ
การตัดสินใจของรัฐที่จะจัดการปัญหาสาธารณะ
จัดการปัญหาที่มีผลกระทบต่อส่วนใหญ่ในสังคม
ออกมาเป็นกฎหมาย กฎระเบียบให้ปฏิบัติ
การกำหนดนโยบายสาธารณะ เพื่อเป็นทิศทางการพัฒนาประเทศ
เน้นตอบสนองความต้องการของประชาชน
เสริมสร้างความเป็นธรรมและเสมอภาคในสังคม
ผู้ประเมินนโยบาย
ผู้ปฏิบัติงาน(ผู้ที่นำนโยบายไปปฏิบัติ)
ผู้ประเมินภายในองค์การซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ผู้ประเมินภายนอกองค์การซึ่งได้รับมอบหมายงานประเมินองค์การส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือบริการ
ผู้ประเมินซึ่งได้รับการมอบหมายงานประเมินผลจากผู้สนับสนุน
การประเมินนโยบาย
การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นภายหลังจากการนำนโยบายไปปฏิบัติ
เพื่อติดตามความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน
ประเมินความเหมาะสมของนโยบายที่กำหนดไว้
เปรียบเทียบผลลัพธ์ที่คาดหวังกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การแก้ไขเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับนโยบาย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สภาพแวดล้อมภายในประเทศ
การเมืองภายในประเทศ
เศรษฐกิจ
สังคม
วัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมภายนอกประเทศ
การเมืองระดับโลก
เศรษฐกิจโลก
สังคม (สังคมเปิด)
เทคโนโลยี
นโยบายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามบทบัญญัติของกฎหมาย
นโยบายตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญตามราชอาณาจักรไทย
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
ส่งเสริมการบริหารงานแบบบูรณาการ
ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย
ด้านเศรษฐกิจ
สนับสนุนการดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ส่งเสริมเศรษฐกิจแบบเสรี
ส่งเสริมการรวมกลุ่มของภาคเอกชน
ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ใช้ประโยชน์จากปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่เี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวนโยบายอื่นๆ
การแข่งขันโดยเสรีและเป็นระบบ
นโยบายตามบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวกับการเกษตร
กฎหมายเกี่ยวกับการเกษตรและสถาบันเกษตรกร
กฎหมายเกี่ยวกับการผลิตการจัดการสินค้าเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร
กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรการเกษตร
กฎหมายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการเกษตร
นโยบายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)
ยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน
ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ความมั่นคงทางอาหารแลละพลังงาน
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2565)
การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
เน้นการมีส่วนร่วมของภาคัพัฒนา(บูรณาการ)
นโยบายการเกษตรของรัฐบาลและส่วนราชการ
นโยบายรัฐ
กำหนดแนวทางให้ครอลคลุมถึงนโยบายพื้นฐาน เพื่อให้แก้ไขปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจด้านการเกษตรทันกับการเปลี่ยนแปลง
นโยบายส่วนราชการ
เน้นเกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี
มีอาชีพที่มั่นคง
มีรายได้เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร
การจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ
หน่วยที่ 3 กระบวนการนโยบายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3