Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1, อ้างอิง, สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวกนกวรรณ พลฤทธิ์ 62112222
…
กรณีศึกษาที่ 1
การให้คำแนะนำในการดูแลต่อเนื่องที่บ้านทั้งเรื่องการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน การส่งเสริมพัฒนาการ การรับวัคซีนตามช่วงวัย การเจริญเติบโตและภาวะโภชนาการ
การรับวัคซีนตามช่วงวัย
ที่ได้รับก่อนหน้า
-
2 เดือน
DTwP-HB-Hib 1 วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ไวรัสตับอักเสบบี และวัคซีนป้องโรคเยื่อสมองอักเสบจากเชื้อฮิบ
-
-
-
ที่ควรได้รับต่อไป
4 เดือน
DTwP-HB-Hib 2 วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ไวรัสตับอักเสบบี และวัคซีนป้องโรคเยื่อสมองอักเสบจากเชื้อฮิบ
-
-
ภาวะโภชนาการ
(น้ำหนักเด็ก (kg) x 120) / 30 = ปริมาณนม ใน 1 วัน (ออนซ์) จะได้ (5*120)/30 = 20 ออนซ์ใน 1วัน โดยแบ่งเป็น 8 มื้อ/วัน
-
การส่งเสริมพัฒนาการ
-
ทักษะการเคลื่อนไหว
ฝึกกล้ามเนื้อมัดใหญ่ การคลาน การนั่ง การยืน เช่น วัยทารกควรส่งเสริมการเคลื่อนไหวโดยการเปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ ส่งของเล่นให้หัดคว้า
-
-
พัฒนาการด้านจิตสังคม
ทารกในช่วง 3 เดือนแรกจะ ยิ้มและสนิทกับคนคุ้นเคย จะร้องไห้เพื่อบอกความต้องการ ถ้ามีคนเล่นด้วยจะส่งเสียงอืออาเพื่อตอบรับ จะร้องไห้เมื่อมารดาหายไป
-
-
-
-
-
สาเหตุและพยาธิสภาพ
Down syndrome
พยาธิสภาพ
Robertsonian translocation คือ การมีสารพันธุกรรมของโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมาแต่จำนวนแท่งของโครโมโซมไม่เพิ่มขึ้น มีการสับเปลี่ยนหรือเคลื่อนย้ายโครโมโซมผิดปกติ (Translocation) คือ บางส่วนของแท่งโครโมโซมที่ 21 ย้ายไปติดอยู่กับโครโมโซมคู่ที่ 13, 14, 15, 21 หรือ 22
Mosaicism คือ การที่เซลล์บางเซลล์ในร่างกายมีแท่งโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง คือมี 47 แท่ง แต่บางเซลล์มีโครโมโซม 46 แท่งเหมือนปกติ เรียกว่า Trisomy 21 Mosaicism
Trisomy 21 คือ การที่มีโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง มีเป็นโครโมโซม 47 แท่ง จากการไม่แยกคู่ของโครโมโซมขณะเซลล์แบ่งตัวในระยะ meiosis ที่เรียกว่า meiotic nondisjunction
Partial Trisomy 21 คือ โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมาเพียงบางส่วน ไม่ใช่ทั้งโครโมโซม โดยส่วน ของโครโมโซมที่เกินมานั้น มียีนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มอาการดาวน์ (Down Syndrome Critical Region or DSCR) ซึ่งอยู่บนแขนยาวของโครโมโซมคู่ที่ 21 รวมอยู่ด้วย
-
Cleft lip & palate
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม (Hereditary/Genetic factor) ในครอบครัวที่มีสมาชิกมีประวัติเป็นโรค มีโอกาสเกิดถึงร้อยละ 60
. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (environmental factor) เป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการสร้างอวัยวะที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การได้รับยาหรือสารเคมีบางประเภท การขาดสารอาหาร ตลอดจนการขาดวิตามิน และจากการติดเชื้อหัดเยอรมันในขณะมารดาตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
พยาธิสภาพ
ในช่วงอายุครรภ์ 3-12 สัปดาห์ จะเริ่มมีการสร้างเนื้อเยื่อของริมฝีปาก และเจริญเป็นเพดานอ่อนและเพดานแข็ง อย่างสมบูรณ์ในสัปดาห์ที่ 7-11 เมื่อเกิดความผิดปกติในระยะการแบ่งตัวนี้จะทาให้เนื้อเยื่อของริมฝีปากและเพดานไม่เชื่อมต่อกันจึงเกิดความพิการขึ้น
-
อ้างอิง
อุษาษ์ โถหินัง.(2017). บทบาทพยาบาลในการดูแลเด็กปากแหว่งเพดานโหว่โดยให้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง: การบูรณาการแนวคิดของโอเร็มและแนวคิดการมีส่วนร่วมของดันสท์และทริเวทย์ Nurses' role in caring for children with cleft lip /palate by family-centered care: The integration of Orem self-care and the participation by Dunst and Trivette. วชิรสารการพยาบาล,1(19),178-190.
Supaporn Chinchai.(2017). Feeding Problems and Treatment in Cleft Lip and Cleft Palate Children. Journal of Associated Medical Sciences,50(3),533-543.
Naiyanan Jitprapun, M.N.S.(2557). Prevention and Care of Children with Down Syndrome. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต,1(3),213-218.
นิรมล ลีลาอดิศร.(2560). การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกแรกเกิดปากแหว่งเพดานโหว่ โดยไม่ใส่เพดานเทียมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง : รายงานผู้ป่วย BREAST FEEDING AMONG CLEFT LIP AND CLEFT PALATE CHILDREN WITHOUT USING OBTURATOR UNDER SUFFICIENT ECONOMY : CASE REPORT. วารสารวิชาการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ,13(1),126-139.
สิริธิดา พงษ์สุพจน์และวิภาพรรณ ฤทธิ์ถกล.(2019). สาเหตุของการเกิดปากแหว่งเพดานโหว่.วารสาร ออนไลน์ ทันตจัดฟัน ,9(2),67-92.
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวกนกวรรณ พลฤทธิ์ 62112222
นางสาวจันทรัสม์ บัวคำ 62115803
นางสาวอุลัยพร ยุระตา 62115449
นางสาวอินทริตา จรเปลี่ยว 62111885