Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะคลอดยาก - Coggle Diagram
ภาวะคลอดยาก
-
ชนิดของการคลอดที่ผิดปกติ
- Prolonged 1 st stage of labor
- Prolonged 2 nd stage of labor
-
-
-
การป้องกัน การป้องกันภาวะคลอดยากนั้นไม่สามารถทำได้ เพราะยังมีปัจจัยหลายประการที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ทำได้แค่เพียงลดความเสี่ยงบางประการลง ดังนี้
1.ควบคุมน้ำหนักตัว คือทานอาหารอย่างเหมาะสม ไม่อดอาหารหรือทานมากจนเกินไป ลดปริมาณไขมัน คาร์โบไฮเดรตและของหวานลง เพราะน้ำหนักตัวในระหว่างตั้งครรภ์ควรขึ้นไม่เกิน 11 กิโลกรัม เพราะถ้าหากทารกน้ำหนักตัวเยอะ ศีรษะจะโต หัวไหล่กว้าง มีผลทำให้คลอดยากได้
2.ทำจิตใจให้แจ่มใสอยู่เสมอ เข้าใจว่าการคลอดบุตรนั้นอาจก่อให้เกิดความกังวลหลายประการคุณแม่หลายคนอาจจะตื่นเต้นหรือกลัวว่าลูกจะได้รับอันตราย แต่ว่าไม่อยากให้แม่กังวลในจุดนี้มากจนเกินไป เพราะมันจะทำให้รู้สึกเครียดและกังวล ทำให้มดลูกหดรัดตัวผิดปกติได้
3.ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การออกกำลังกายจะทำให้กล้ามเนื้อเชิงกรานมีความแข็งแรง กระชับและยืดหยุ่นได้ดี ทำให้เวลาคลอดจะคลอดได้ง่ายมากขึ้น แถมยังฟื้นตัวได้ไวอีกด้วย
-
ภาวะแทรกซ้อน
-
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
- ทารกอยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress) เกิดการขาดออกซิเจนเนื่องจาก
1.1มดลูกมีการหดรัดตัวเป็นเวลานาน ภาวะน้ีจะรุนแรงมากข้ึนถ้าผู้คลอดมีภาวะขาดน้ำ มีความดันโลหิตต่ำลง หรือมดลูกมีการหดรัดตัวมากผิดปกติ
-
-
- ทารกเกิดการติดเชื้อในทางเดินหายใจ บริเวณสะดือ ตา หู ถ้าผู้คลอดมีภาวะเยื่อหุ้มทารกอักเสบติดเชื้อ
-
- ทารกเกิดความพิการ ปัญญาอ่อน หรืออาจเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน การติดเชื้อ หรืออวัยวะต่างๆได้รับบาดเจ็บ
- ภาวะแทรกซ้อนในทารกแรกเกิด (neonatal complication)
5.1 low Apgar scores เนื่องจากการคลอดที่เนิ่นนานหรือติดขัดทำให้ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน
-
-
การรักษา
รักษาด้วยยา
หากแพทย์พิจารณาแล้วว่าคุณแม่ยังคลอดธรรมชาติได้ แพทย์อาจให้ยาออกซิโทซินในน้ำเกลือ เพื่อกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวมากขึ้นจนทำให้คลอดตามปกติได้
ใช้อุปกรณ์ช่วยในการคลอด
จะมีอยู่ 2 คือ การคลอดโดยใช้คีมช่วยคลอด จะใช้ในกรณีที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้วและศีรษะของทารกต้องอยู่ต่ำลงมาในอุ้งเชิงกรานแล้วเท่านั้น หากยังอยู่สูงแพทย์จะไม่ใช้ เพราะอาจเป็นอันตรายต่อสมองของทารกและยังทำให้กระดูกเชิงกรานหรือมดลูกของคุณแม่ได้รับบาดเจ็บได้ ทั้งนี้การใช้คีมช่วยคลอดศีรษะของทารกต้องอยู่ไม่เกิน 45 องศา ส่วนอุปกรณ์อีกชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ช่วยคลอดคือ เครื่องดูดสุญญากาศ เครื่องนี้จะใช้ในกรณีที่คุณแม่คลอดยากจนหมดแรงเบ่ง โดยแพทย์จะใช้เครื่องดูดสุญญากาศที่มีลักษณะคล้ายถ้วยครอบไว้ที่ศีรษะทารกจากนั้นก็ดูดออกมา ทั้งนี้แพทย์จะใช้วิธีนี้ช่วยแค่ 40 นาที ถ้าเกินกว่านี้อาจเป็นอันตรายต่อทารกได้ และถ้าถ้วยครอบหลุดจากศีรษะทารกครบ 2 ครั้ง แพทย์จะเปลี่ยนไปใช้วิธีการผ่าคลอด
ความหมาย
ภาวะคลอดยากในทางการแพทย์คือ การคลอดทารกที่ใช้เวลายาวนานกว่าปกติจนไม่สามรถคลอดด้วยวิธีการธรรมชาติได้ จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์การเข้ามาช่วย โดยการคลอดยากนี้จะใช้เจ็บท้องคลอด 20 ชั่วโมงในครรภ์แรกและเจ็บ 12 ชั่วโมงในครรภ์ถัดมา สำหรับคุณแม่รอคลอดที่เจ็บท้องคลอดยาวนานแบบนี้แล้วยังไม่คลอด เสี่ยงที่จะเกิดอันตรายต่อทั้งมารดาและทารกได้ ส่วนองค์การอนามัยโลก(WHO) ได้กำหนดนิยามการคลอดยากเอาไว้ เมื่อเข้าสู่ระยะการเจ็บครรภ์จริง ปากมดลูกจะต้องเปิดอย่างน้อยชั่วโมงละ 1 เซนติเมตร เพราะฉะนั้นเมื่อเจ็บท้องรอคลอดแล้วปากมดลูกเปิดเฉลี่ยไม่ถึง 1 เซนติเมตรต่อชั่วโมง ควรผ่าคลอด ทั้งนี้ถ้าเปิด 1 เซนติเมตรตามกำหนดแต่ศีรษะทารกยังลอยสูงอยู่มากกว่า 3 ชั่วโมงในครรภ์และและ 1.5 ชั่วโมงในครรภ์ถัดมาก็ควรผ่าคลอดเช่นเดียวกัน
-