Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สตรีตั้งครรภ์ G2P0A1 - Coggle Diagram
สตรีตั้งครรภ์ G2P0A1
การประเมินสุขภาพ
ซักประวัติ
คำนวณอายุครรภ์
LMP 1 ตุลาคม 2563 ฝากครรภ์ครั้งแรก 1 มีนาคม 2564
GA 21 weeks 5 day
ดัชนีมวลกาย
น้ำหนัก60 kg ส่วนสูง162cm
BMI 22.8 (น้อยกว่ามาตรฐาน)
น้ำหนักที่ควรเพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ประมาณ 11.5-16 kg
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารประเภทหมักดอง และรสจัด
รับประทานวิตามินเสริม
รับประทานอาหารที่มีความหลากหลายและสารอาหารครบถ้วน
หลีกเลเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์และคาเฟอีน
ประวัติการตั้งครรภ์/การคลอดในอดีต, ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต, โรคประจำตัว, ประวัติการใช้ยา/แพ้ยา,ประวัติครอบครัว, ประวัติการรับวัคซีนโรคบาดทะยัก/ไข้หวัดใหญ่, ประวัติการใช้สารเสพติด, ประวัติการคุมกำเนิด
ตรวจครรภ์
ครั้งที่3 GA 34 weeks
ระดับยอดมดลูก 2/4>๏ ขนาดของมดลูก 30 ซม.
คลำท่า ที่4 Fourth leopold maneuver หรือ Bilateral inguinal grip
ทารกในท่า longitudinal lie
ส่วนนำเป็นก้น
No engagement
FHS 146 bpm
ครั้งที่2 GA 28 weeks
ระดับยอดมดลูก 1/4 > ๏ วัดขนาดมดลูก 26 ซม.
ครั้งที่1GA 21 weeks
ระดัยอดมดลูกระดับสะดือ
ตรวจร่างกาย
ตรวจดูขนาดของต่อมไทรอยด์
ประเมินความยืดหยุ่นของลานนม
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hb, ชนิด Rh, ภูมิต้านทานเชื้อไวรัสหัดเยอรมัน, การตรวจปัสสาวะ (โปรตีนและน้ำตาล), การติดเชื้อตับอักเสบ (HBsAg) และ GCT
ด้านจิตใจ
มีความวิตกกังวล
เนื่องจากอยากมีลูกแต่รู้สึกไม่พร้อมจะมีตอนนี้
การพยาบาล
จัดบรรยากาศในการพูดคุยให้สงบเงียบ เป็นสัดส่วนให้ผ่อนคลาย เพื่อให้เกิดความมั่นใจ
และคลายความวิตกกังวล
ให้คำปรึกษาในการเลี้ยงดูทารก
เปิดโอกาสให้ผู้สตรีตั้งครรภ์ซักถามปัญหา ระบายความรู้สึก
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับบทบาทการเป็นแม่
ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองระหว่างการตั้งครรภ์และดูแลทารกใน ครรภ์
บทบาทสามี
พาไปตรวจตามที่หมอนัดทุกครั้ง
หาแมนูที่ชอบและมีประโยขน์ให้รับประทาน
คอยอยู่ใกล้ๆ คอยดูแลเอาใจใส่
ชื่นชมบ่อยๆ คอยกอดคอยหอม จะทำให้ภรรยามีกำลังใจมากขึ้น
ศึกษาหาข้อมูลต่างๆเพื่อใช้ในการดูแลภรรยา
บีบนวด หรือชวนไปออกกำลังกาย เพื่อช่วยให้ผ่อนคลาย
คอยเตือนให้รับประทานยา วิตามินและนับลูกดิ้น
เป็นคู่สนทนาที่ดี ซักถามแสดงความห่วงใย คอยรับฟังปัญหาต่างๆ
การมีเพศสัมพันธ์
แนะนำให้ใช้ถุงยางอนามัย
มารดาเป็นซิฟิลิส
เชื้อสามารถผ่านรกไปยังทารก
อาจทำให้แท้ง
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกพิการแต่กำเนิด
อาจร้ายแรงถึงเสียชีวิต
มีประวัติแท้ง
แนะนำให้ใช้ท่าที่ผ่อนคลาย ไม่รุนแรงหรือผาดโผน
หลีกเลี่ยงการใช้ท่าที่กดทับหน้าท้อง
ท่าที่เหมาะสม
Side by side
Spooning
Women on Top
การส่งเสริมสุขภาพสตรีและทารกในครรภ์
แนะนำให้ออกกำลังกายเพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง เช่นการเล่นโยคะ การเดินเล่นในที่ที่มีอากาศปลอดโปร่ง
นอนหลับพักผ่อนเพียงพอ วันละ8-10 ขั่วโมง
ให้สตรีตั้งครรภ์จัดการกับความเครียด ให้กำลังใจตนเอง มองโลกในแง่ดี ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จะส่งผลให้มีสุขภาพดีและทารกในครรภ์ก้แข็งแรง อารมณ์ดี
หลีกเลี่ยงหรืองด เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนหรือเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีความหลากหลาย และครบทั้ง5หมู่
การฝากครรภ์
การรับประทานยา
Triferdine 1*2 o pc
Iodine+Iron+Folic acid
ประโยชน์
สร้างฮอร์โมนไทรอยด์ในการพัฒนาสมอง
ป้องกันโลหิตจาง
ป้องกันภาวะผิดปกติในการสร้างสมองและไขสันหลัง
ผลข้างเคียง
ผื่นแดง หายใจไม่สะดวก อาเจียน (ควรหยุดยา)
Calcium 1*1 o pc
อาการข้างเคียง
ปากแห้ง เรอ รู้สึกไม่สบายท้อง ปัสสาวะบ่อยขึ้น
หากขาดแคลเซียม
ปวดเกร็งกล้ามเนื้อในบริเวณต่างๆของร่างกาย (ตะคริว)
กระดูกเปราะบาง
การเจริญเติบโตของกระดูกในทารกผิดปกติ
ประโยชน์
ป้องกันการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ
ทารกนำไปใช้สร้างกระดูกและฟัน พัฒนาการเจริญเติบโต
การฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
หากไม่เคยได้รับหรือไม่แน่ใจ ควรได้รับจำนวน 3 เข็ม
เข็มที่ 1 เมื่อฝากครรภ์ทันที : 1มีนาคม 2564
เข็มที่ 2 หากจากเข็มที่ 1 อย่างน้อย 1 เดือน : 1 เมษายน 2564
เข็มที่ 3 ห่างจากเข็มที่ 2 6 เดือน : 1 ตุลาคม 2564
การฝากครรภ์คุณภาพ
ครั้งที่ 3 : อายุครรภ์19-26 สัปดาห์
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเลือดออกทางช่องคลอด บวม ปวดศีรษะ ตาพร่ามัวและการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลความสะอาดของอวัยวะที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ อาจส่งผลให้คลอดก่อนกำหนดได้
ครั้งที่ 2 : อายุครรภ์ 13-18 สัปดาห์
ฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์
ให้ยาบำรุงครรภ์ต่างๆ เช่น แคลเซียม ธาตุเหล็ก
ให้มารดานับลูกดิ้น
ครั้งที่ 4 : อายุครรภ์27-38 สัปดาห์
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกรณีที่มีอาการเจ็บครรภ์
ให้คำแนะนำสำหรับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
งดเดินทางไกล
ครั้งที่ 1 : อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์
ประเมินความเสี่ยงการตั้งครรภ์และตรวจคัดกรองโรคต่างๆ
ฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์หยุดสูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือสารเสพติดอื่นๆ
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์พาสามี เพื่อนหรือสมาชิกในครอบครัวมาด้วยในการฝากเพื่อให้มีส่วนร่วม
ให้คำแนะนำ นำสมุดฝากครรภ์มาด้วยทุกครั้ง ที่มาติดต่อรักษา
ครั้งที่ 5 : อายุครรภ์ 33-38สัปดาห์
วางแผนการคลอดบุตร
บันทึกข้อมูลทางคลินิกให้ครบถ้วน ใน OPD card
อาการไม่สุขสบาย
ไตรมาสที่ 1
เรอเปรี้ยวบ่อยครั้ง
เกิดจากกระเพาะอาหารถูกกดเบียดเปลี่ยนตำแหน่งทำให้กรดไหลย้อนมาที่หลอดอาหารส่วนล่าง
เหนื่อยง่าย
เกิดจากการเพิ่มระดับของฮอร์โมน Progesterone และการเพิ่มของระดับ Thyroid Hormone ทำให้การเผาผลาญอาหารสูงขึ้น ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนมากขึ้น
ปัสสาวะบ่อย
เกิดจากการที่มดลูกโตไปกดกระเพาะปัสสาวะทำให้มีความจุน้อยลง และจากการที่อัตราการกรองของไตเพิ่มขึ้น
พยายามไม่ดื่มน้ำก่อนเข้านอน
งดการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
ฝึกบริหารกล้ามเนื้อหูรูดกระเพาะปัสสาวะโดยการขมิบก้น (Kegel exercises)
มีเส้นสีดำผ่านสะดือตามแนวยาว, พบรอยแตกสีเทาบริเวณหน้าท้องเป็นริ้วๆจำนวนมาก
เนื่องจากมีการขยายของหลอดเลือดที่เลี้ยงผิวหนังและจากการยืดขยายของผิวหนัง และผลจากฮอร์โมนของต่อมหมวกไตที่เพิ่มขึ้น
มีฝ้าและสิวขึ้นใบหน้า
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน Estrogen
ฟันผุ 2 ซี่
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน Estrogen
ท้องผูก
เกิดจากอิทธิผลของฮอร์โมน Progesterone ทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง เกิดการสะสมของ gas
คลื่นไส้ อาเจียน รับประทานอาหารไม่ค่อยได้ วิงเวียนศีรษะ
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน HCG, HPL และจากการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
ควรรับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้ง
การรับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของขิงจะสามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้ได้
หลังอาเจียนควรบ้วนปากให้สะอาด เพื่อขจัดกลิ่นที่จะทำให้คลื่นไส้อาเจียนอีก
ไตรมาสที่ 2
ความดันโลหิตต่ำเมื่อนอนหงาย
เกิดจากมดลูกไปกดทับหลอดเลือด Inferior vena cava และหลอดเลือดดำใหญ่เชิงกราน ทำให้เกิดไหลกลับของเลือดสู่หัวใจน้อยลง CO ลดลง
การเจ็บถ่วงบริเวณช่วงกลางของท้องน้อย
เกิดจากการที่มดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้นทำให้มีการยืดขยายของ Round ligament
มือ เท้า และหน้าแข้งบวม +1
เกิดจากมีการเพิ่มปริมาณของเลือดและน้ำในกระแสเลือดในหลอดเลือดแดงใหญ่ในอุ้งเชิงกรานและมดลูกกดทับหลอดเลือด Inferior vena cava ทำให้ไหลเวียนช้าลง เกิดการคั่ง
ให้บริหารปลายเท้า
นั่ง เหยียดขายกปลายเท้าสูงเล็กน้อย
นอนยกปลายเท้าสูงเล็กน้อย
นวดฝ่าเท้าและหลังเท้า
ใช้ Bandage support บริเวณขา
เลี่ยงการยืนนานๆ
ปวดหลังส่วนล่าง
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน Estrogen ทำให้เนื้อเยื่อเกี่ยวพันและกล้ามเนื้อขยายตัวได้มากขึ้นมีผลให้แอ่นหลัง
เหงื่อออก ตัวเย็น หน้ามืด ตาลาย
เกิดจากการที่มีฮอร์โมน Progesterone เพิ่มขึ้น ทำให้มีผลต่ออุณหภูมิของร่างกายโดยจะสูงขึ้น, ตัวเย็น หน้ามืด ตาลาย เกิดขึ้นเมื่อนอนหงาย เนื่องจากมดลูกไปกดทับหลอดเลือด Inferior vena cava และหลอดเลือดดำใหญ่บริเวณเชิงกราน ทำให้การไหลกลับของเลือดสู่หัวใจน้อยลง CO ลดลง และอาจเกิดจากอาการคลื่นไส้ อาเจียน ทำให้รับประทานอาหารได้น้อย ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ส่งผลให้หน้ามืด ตาลายได้
แนะนำให้พักผ่อนมากขึ้นและออกกำลังกายพอสม
แนะนำให้พักในช่วงกลางวัน ลดความเครียดเรื่องงานต่าง ๆ
เส้นเลือดขอดบริเวณขา
เกิดจากฮอร์โมน Progesterone ทำให้กล้ามเนื้อเรียบ ผนังและลิ้นกั้นหลอดเลือดดำคลายตัว เลือดไหลกลับไม่สะดวกก่อให้เกิดการอักเสบของหลอด เลือดดำตามมาได้ซึ่งในระยะแรกจะเห็นเป็นตาข่ายตื้นๆ (Spider network) ต่อมาจะเห็นเป็นปมหรือหลอดเลือดโป่งพองขดไปมา