Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Kidney urinary bladder system (KUB System) - Coggle Diagram
Kidney urinary bladder system (KUB System)
โครงสร้างของไต
ไตมี1คู่อยู่บริเวณช่องท้องด้านหลัง (reteoperitoneal) ของกระดูกสันหลัง
ขอบบนตรงกับ T12 ขอบล่างตรงกับ L3 มีความยาวประมาณ 11-12 cm ความกว้าง 5.0-7.5 cm ความหนา 2.5-3.0 cm
Hilum : มีเส้นเลือด 3 เส้น
Renal artery : เส้นเลือดแดง 1 เส้นออกจาก aorta ไปเลี้ยงที่ไตเข้าสู่ขั้วไต
Renal vein : เส้นเลือดที่ออกจากไตต่อเข้ากับ Inferior vena cava
Renal pelvis : กรวยไต
ชั้นแบ่งเป็น 2 ชั้น
Renal cortex ไตชั้นนอก
Renal medulla ไตชั้นใน
Collecting system
Renal calyx
Renal pelvis
Nerve เส้นประสาทที่ไต
Sympathetic nerve
Parasympathetic nerve
Nephron
หน่วยที่ทำงานของไต มีประมาณ 900,000-1,000,000 หน่วยต่อไต1ข้าง
Glomerulus
เส้นเลือดฝอยเล็กๆที่เป็นจุดเริ่มต้นของ Nephron
ทำงานร่วมกับ Mesangial cell และ Bowman’s capsule
Tubule : ส่วนของท่อไต
Proximal convoluted tubule ส่วนที่ขดในตอนต้น
Loop of henle ส่วนโค้งรูปตัวยู
Distal convoluted tubule ส่วนที่ขดในตอนปลาย
Collecting duct ส่วนท่อท้าย
หน้าที่ของไต Function of kidney
Maintanance of normal body fluid composition
ควบคุมสารน้ำและความเข้มข้นของน้ำและเกลือแร่
Excretion of waste products of matabolism and excretion of foreign substance
กำจัดของเสียที่สร้างโดยตับ
Regulation of blood pressure
ควบคุมความดันเลือด
Production of hormones
Erythropoietin ที่ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดงในไขกระดูก
Activation of vitamin D ควบคุมสมดุล Ca P และกระดูก
การประเมินการทำงานของไต Assesment of kidney function
Glomerular filtration rate (GFR)
ค่าเฉลี่ยอัตราการกรองไตที่บ่งบอกว่าไตทำงานดีหรือไม่ นำมาคูณกับจำนวน Nephron ทั้ง 2 ข้างของไต
ค่าปกติของ GFR ในผู้ชายประมาณ 130 ml/min/1.73 m2
ในผู้หญิงประมาณ 120 ml/min/1.73 m2
Urinalysis (UA) and Urine microscopy
การทดสอบทางเคมีเพื่อดูความผิดปกติภายในปัสสาวะ ตรวจผ่านกล้องจุลทรรศน์เพื่อดู Urine sediment
Hematuria ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
Proteinuria ภาวะพบโปรตีนออกมากับปัสสาวะมากกว่า 3.5 g/day บ่งบอกว่ามีการบาดเจ็บของท่อไต
ACUTE KIDNEY INJURY (AKI) ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะที่มีการทำงานของไตลดลงอย่างรวดเร็วในเวลาเป็นชั่วโมงหรือในเวลาไม่กี่วัน ทำให้ไม่สามารถขับของเสียออกมาได้ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของน้ำ เกลือแร่และกรด-ด่างในเลือดได้
สาเหตุ
Bilateral ureteric obstruction มีสิ่งที่ไปอุดกั้นทำให้ปัสสาวะไหลออกไม่ได้
อาการ
Dysuria
Gross hematuria
Abdominal pain
Anuria
การรักษา
วินิจฉัยให้โดยเร็ว
แก้ไขภาวะ Pre-renal และจัดการ Hemodynamic ให้ Stable
ป้องกันไม่ให้เกิดการทำลายไต
Retain foley cath : Urine>400 ml ใส่สายสวนปัสสาวะ
ประเภทของไตวายเฉียบพลัน
AIN : Acute interstitial nephritis
สาเหตุ
การได้รับยาบางชนิด เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวดแก้อักเสบ NSAIDs เป็นต้น
การติดเชื้อ
ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ
ความผิดปกติของเซลล์เม็ดเลือดขาว
อาการ
มีไข้ ผื่น ปวดข้อ เป็นต้น
การรักษา
หยุดยาที่เป็นสาเหตุ
AGN : Acute glomerulonephritis
อาการ
บวม
เม็ดเลือดแดงออกมากับปัสสาวะ
การรักษา
ประคับประคองตามอาการ
ให้ยากดภูมิคุ้มกัน
ATN : Acute tubular necrosis
สาเหตุ
การได้รับสารพิษที่ทำให้เกิดผลเสียต่อไต
เลือดไปเลี้ยงที่ไตได้น้อยลง เกิดภาวะ shock ได้
การรักษา
ให้ยารักษาตามอาการ
CHRONIC KIDNEY DISEASE (CKD) ภาวะไตวายเรื้อรัง
สาเหตุ
เกิดจากการทำงานผิดปกติของไตนานมากกว่า 3 เดือน
มีโปรตีนออกมาในปัสสาวะ
มีเม็ดเลือดขาวหรือเม็ดเลือดแดงออกมาในปัสสาวะ
มีโครงสร้างของไตผิดปกติไป มีทั้งหมด 5 ระยะ
อาการ
ปวดศีรษะ
ทานอาหารได้น้อย
ปัสสาวะบ่อย
เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง
นอนไม่หลับ
อาการแสดง
ปวดบวมน้ำ บวมตามแขนตา
ผิวแห้งและมีสีคล้ำ
แขนขาไม่ค่อยมีแรง
การรักษา
ชะลอการเสื่อมของไต โดยการควบคุมความดัน การให้ยา จำกัดอาหาร หลีกเลี่ยงยาNSAIDs ควบคุมน้ำตาล
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ภาวะซีด เลือดเป็นกรด โพแทสเซียมเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เป็นต้น
เตรียมพร้อมเข้าสู่การบำบัดทดแทนไต โดยสามารถเริ่มฟอกไตได้เมื่อค่า GFR น้อยกว่า 6
ELECTROLYTE ABNORMALITY ภาวะเกลือแร่ผิดปกติ
การควบคุมสมดุลโซเดียมในร่างกาย
Hyponatremia ร่างกายมี Sodium ต่ำ
อาการ
ปวดหัว
ชัก
อ่อนเพลีย
ไม่รู้สึกตัว
คลื่นไส้
การรักษา
ลดปริมาณหรือจำกัดการดื่มน้ำ
ให้น้ำเกลือ NSS
รักษาตามสาเหตุ เช่น ให้ Insulin จนระดับน้ำตาลกลับมาปกติ
Hypernatremia ร่างกายมี Sodium สูง
อาการ
อ่อนแรง
ง่วงซึม
หมดสติ
หงุดหงิดง่าย
ชัก
การรักษา
รักษาตามสาเหตุ เช่น หยุดสารน้ำที่ทำให้เกิดภาวะ Sodium สูง
ให้น้ำเปล่าเพิ่มขึ้น ทั้งทางปากหรือหลอดเลือดดำ
การควบคุมสมดุลโพแทสเซียมในร่างกาย
Hypokalemia ร่างกายมีโพแทสเซียมต่ำ
อาการ
ระบบหายในล้มเหลว
กล้ามเนื้อเรียบบริเวณระบบย่อยอาหารผิดปกติ
ร่างกายมีค่าโพแทสเซียมต่ำกว่า 2.5 mmol/L
การรักษา
ให้โพแทสเซียมทดแทน โดยอาจจะให้ทางอาหารเช่น ผัก ผลไม้
ให้โพแทสเซียมทดแทน โดยอาจจะให้ทางอาหารเช่น ผัก ผลไม้ เป็นต้น
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรงแบบรุนแรง
การทำงานของหัวใจผิดปกติ และมีค่าEKGผิดปกติ
การรักษา
ควบคุมระดับโพแทสเซียมในร่างกาย การให้แคลเซียม อินซูลิน
ELECTROLYTE ABNORMALITY ภาวะเกลือแร่ผิดปกติ
Primary glomerular disease
Secondary glomerular disease
กลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของ glomerular
NEPHROTIC SYNDROME
NEPHRITIC SYNDROME
ACID-BASE ABNORMALITY ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
Metabolic acidosis
ภาวะที่ร่างกายเป็นกรด โดยมีค่า pH ต่ำกว่า 7.35
ไบคาร์บอเนตต่ำกว่า 24 mmol/L
ทำให้เกิดผลกระทบต่อการทำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด และการทำงานของเอนไซม์
สาเหตุ
Wide anion gap metabolic acidosis (AG>18 mEq/L)
Normal anion gap metabolic acidosis (AG<18 mEq/L)
การรักษา
หาสาเหตุและแก้ไขสาเหตุนั้นๆ
Metabolic alkalosis
ภาวะที่ร่างกายเป็นด่าง
มีค่า pH สูงกว่า 7.45
ไบคาร์บอเนตสูงกว่า 24 mmol/L
เกิดจากการที่ร่างกายสร้างด่างมากแลขับกรดออกมาก สาเหตุจากความดันโลหิตสูง
การรักษา
หาสาเหตุและแก้ไขสาเหตุนั้นๆ