Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5
การติดตาย - Coggle Diagram
บทที่5
การติดตาย
-
-
การตรวจจับการติดตาย
กรณีที่มี 1 บริการในทรัพยากร 1 ตัว
ถ้าทุกทรัพยากรสามารถใช้บริการได้เพียง 1 โพรเซส
ดังนั้นสามารถกำหนดอัลกอริทึมของ การตรวจจับการติดตาย
ด้วยการใช้กราฟแสดงทรัพยากรที่เรียกว่ากราฟ Wait-for
-
รูปแบบโครงสร้าง
ลำดับขั้นตอนการทำาน
1.การร้องขอ (Request) เมื่อโพรเซสต้องการใช้ทรัพยากร
จะต้องทำการร้องขอทรัพยากรจากระบบ
โดยระบบจะตรวจสอบว่าทรัพยากรที่ถูกขอว่างหรือไม่
ถ้าหากไม่ว่างต้องรอ
-
-
การแก้ปัญหาส่วนวิกฤติ
บางครั้งเมื่อโพรเซสต้องการใช้ทรัพยากร และร้องขอจากระบบ
แต่ทรัพยากรนั้นไม่ว่างเนื่องจากโพรเซสอื่นกำลังใช้งานอยู่
ทำให้ต้องรอ และ เป็นการรอบบไม่สิ้นสุด
เหตุการณ์นี้คือ การติดตาย
-
การหลีกเลี่ยงการติดตาย
พิจารณาจากข้อมูลของทรัพยากรที่ถูกร้องขอ
ดังนั้นสถานะของการใช้ทรัพยากรจะถูกกำหนด
ด้วยจำนวนของทรัพยากรที่ถูกใช้งาน
และจำนวนทรัพยากรที่มีอยู่ในระบบ
1.สถานะที่ปลอดภัย (Safe State)
เมื่อมีการขอทรัพยากร ระบบจะต้องตัดสินว่าถ้าให้ทรัพยากรแล้ว
ระบบจะยังอยู่ในสถานะปลอดภัยหรือไม่
ดังนั้นจึงต้องทำให้ระบบอยู่ในสถานะที่ปลอดภัย และป้องกันไม่ให้ระบบเข้าสู่การติดตาย
2.อัลกอริทึมการกำหนดทรัพยากรด้วยกราฟ
เป็นตัวกำหนดว่าโพรเซสอาจทำการขอทรัพยากรซึ่งแทนด้วยจุดปะ
ถูกเปลี่ยนให้เป็นการขอใช้งานจริง(เส้นทึบ)
ดังนั้น เมื่อทรัพยากรบริการโพรเซสเรียบร้อยแล้วก็จะเปลี่ยนกลับไปเป็นเส้นปะ
3.อัลกอริทึมของนายธนาคาร (Banker’s Algorithm)
ในระบบที่ทรัพยากร 1 ตัวสามารถให้บริการได้หลายโพรเซส จึงมีการเสนอแนวคิดนี้ เพื่อที่จะให้ระบบมีการกำหนดจำนวนสูงสุดที่สามารถให้บริการได้ โดยไมจำเป็นต้องเป็นจำนวนทั้งหมด เพื่อให้เกิดการหมุนเวียน
4.อัลกอริทึมการขอใช้ทรัพยากร
1.ถ้า Request i ≤ Need i
2.ถ้า Request i ≤ Available
3.มีการตั้งระบบลวงเพื่อใช้ทรัพยากรที่โพรเซส i ขอใช้ โดยการใส่ค่าในตัวแปร