Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวพิชญาภา นิ่มมณี เลขที่ 38 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่…
นางสาวพิชญาภา นิ่มมณี เลขที่ 38
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 31
บทที่ 14 พยาธิสรีรวิทยาโรคทางตา
Pinguecula : ต้อลม
ภาวะเสื่อมหรือ degeneration ของเยื่อบุตาขาว
พบที่บริเวณหัวตาและหางตา (exposure area)
ไม่ได้มีผลต่อการมองเห็น
เกิดการระคายเคืองได้ง่าย
ปัจจัยเสี่ยง
สัมผัสรังสี UV ในแสงแดด ลม ฝุ่น
เกิดการระคายเคืองได้ง่าย
เนื้อเยื่อสีเหลืองๆ นูนๆ ข้างตาดำ
ระคายเคืองและคัน แต่ส่วนใหญ่จะไม่มีอาการแสดงให้เห็น ทำให้ตาแห้ง
เยื่อบุตาอักเสบในบางครั้ง
จะมีสีแดงเมื่อมีการอักเสบ
Glaucoma : ต้อหิน
เป็นแล้วไม่หาย , สัมพันธ์กับ 2 หรือ 3 องค์ประกอบหลัก
optic neuropathy การบาดเจ็บของเส้นประสาท
visual field loss สูญเสียลานสายตา
elevated intraocular pressure (IOP) สัมพันธ์กับความดันลูกตา
Type of glaucoma
Primary open angle glaucoma
Primary angle closure glaucoma
ระยะของต้อหิน
ระยะแรก
แสดงอาการไม่ชัดเจนหรือไม่แสดงอาการเลย
ระยะที่ 2
แสดงอาการเริ่มชัดเจนมากขึ้นแต่ยังไม่รู้สึกตัว
ระยะสุดท้าย
แสดงอาการชัดเจน สูญเสียการมองเห็นกว่า 80%
การประเมินความเสี่ยง
ท่านอายุมากกว่า 40 ปี
มีโรคประจำตัว
มีความดันตาสูง
ประวัติโรคต้อหินในครอบครัว
การรักษา
ใช้ยาลดความดันลูกตา, เลเซอร์, ผ่าตัด
Cataract : ต้อกระจก
มีลักษณะขาวขุ่นบริเวณกระจกตา ทำให้ ความดันในลูกตาสูง หากเป็นมากอาจจะพัฒนาเป็นต้อหินได้
Crystalline lens กระจกตา 3 ส่วนสำคัญ
Capsule
Cortex
Nucleus
แบ่งออกเป็น
Acquired cataract เป็นโดยกำเนิด
Congenital Cataract ภายหลัง
การประเมิน
การตรวจดูด้วยไฟฉาย
เห็นเลนส์บริเวณกลางรูม่านตาขุ่นขาว
การตอบสนองของรูม่านตาปกติแม้ว่าเลนส์จะขุ่นมาก
การรักษา
การใช้ยารักษา
ป้องกันโดยใส่แว่นตา
ตากุ้งยิง (Hordeolum)
เกิดจากเชื้อ
Staphylococcus aureus
อาการ
ตุ่มนูนแดง เป็นไตแข็ง ไม่รู้สึกเจ็บ เพียงแต่ทำให้รำคาญ
การรักษา
กินยาฆ่าเชื้อ
การผ่าหรือกรีดออก
Pterygium : ต้อเนื้อ
พยาธิสภาพเหมือนกับต้อลม
ต้อเนื้อเป็นเนื้อเยื่อสามเหลี่ยม ที่เกิดคล้ายกับต้อลม
แต่จะลามมาที่กระจกตาหรือตาดำ
ไม่ได้เป็นเนื้อร้าย
อาการ
เนื้อเยื่อสีน้ำตาล, แดง(อักเสบ) หรือขาว (ไม่อักเสบ) – เคืองตาตาแดงน้ำตาไหล
ตาแห้ง ทำให้มองเห็นมัวลงมาบังตาดำ,
ทำให้ผิวกระจกตาขรุขระ –ส่วนใหญ่ (>90%) จะพบทางหัวตา
การรักษา
หลีกเลียงลม, แดด (UV light), ฝุ่น, ควัน
สวมแว่นตากันแดด กันลม
ยาหยอดตา artificial tears , topical vasoconstrictor + antihistamine
การผ่าตัด excision (if>3mm,medicationfailure, cosmetic)
วุ้นตาเสื่อม (Vitreous degeneration) หรือ
วุ้นตาลอก (Posterior vitreous detachment)
ส่วนใหญ่จะเกิดกับผู้อายุมากกว่า 50 ปี
ข้อควรระวัง
– แสงแฟลช เพราะอาจทำให้เกิดจอประสาทตาฉีกขาด
จุดภาพชัดเสื่อมในผู้สูงอายุ
ผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป
อาการ
ตามมัว เห็นภาพบิดเบี้ยว หรือเห็นเงาดำ
ปัจจัยเสี่ยง :
กรรมพันธุ์ สูบบุหรี่ เพศหญิง ไขมันในเลือดสูง
ความดันโลหิตสูง สายตายาว
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Non neovascular AMD
Neovascular AMD เกิดจุดบอดสีดำกลางภาพ
ภาวะสายตาผู้สูงอายุ (Presbyopia)
วิธีการแก้ไข
แว่นชั้นเดียวสำหรับของใกล้หรืออ่านหนังสือ
แว่นสองชั้น Bifocal lens
แว่นไร้รอยต่อ Progressive lens)
Monovision : ใช้คอนแทคเลนส์ แว่นตา หรือการผ่าตัด
ไม่สามารถโฟกัสให้เห็นชัดใกล้ได้
มักเริ่มกับผู้ที่มีอายุประมาณ 40 ปี
มีอาการปวดเมื่อล่าเวลาใช้สายตา
Diabetic retinopathy
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
Non proliferation
Proliferative รุนแรงมีภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย รักษาโดยการทำเลเซอร์