Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แบบเติมคำ - Coggle Diagram
วิเคราะห์การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบเติมคำ
ลักษณะข้อสอบ
ผู้สอบต้องคิดและสร้ำงคำตอบขึ้นมำเองแต่เป็นคำตอบเพียงสั้น ๆ เช่น คำ วลี จำนวน สัญลักษณ์
ลักษณะของคำถำมเป็นประโยคที่ไม่สมบูรณ์ เว้นช่องว่ำงไว้ให้เติม
เป็นข้อสอบที่จัดอยู่ในประเภทของข้อสอบปรนัย
เป็นข้อสอบที่มีคำตอบถูกต้องตำยตัว ใครตรวจก็ให้คะแนนที่ตรงกัน
การนำข้อสอบแบบเติมคำหรือแบบคำตอบสั้นไปใช้
วัดผลการเรียนรู้ในขั้นสูงกว่าขั้นความรู้ ความจำได้
โดยเฉพาะการตีความหมายข้อมูลจากแผนภูมิ
กราฟ
ขั้นความเข้าใจ
รูปภาพต่าง ๆ
วัดความสามารถในการแก้ปัญหาได้
วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยขั้นความรู้ ความจำ
ความจริงเฉพาะหรือข้อเท็จจริง
หลักการและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
ความรู้ความจำเกี่ยวกับศัพท์
วิธีการดำเนินการ
ข้อเสนอแนะในการสร้างข้อสอบแบบเติมคำ
หรือแบบคำตอบสั้น
ควรเว้นช่องว่ำงสำหรับให้เขียนคำตอบอย่ำงเพียงพอ
ช่องว่ำงที่ให้เติมในแต่ละข้อไม่ควรมำกเกินไปหรือให้เติมหลำยช่องว่ำง
จะทำให้ผู้สอบเข้ำใจผิดได้
คำถำมที่ถำมต้องชัดเจน ไม่คลุมเครือ อ่ำนแล้วรู้ว่ำต้องตอบอะไร
คำที่ให้เติมควรอยู่ท้ำยประโยค
ข้อคำถำมแต่ละข้อ วัดเฉพำะเนื้อหำที่สำคัญและแต่ละหัวข้อวัดเพียงประเด็นเดียว
กำหนดหน่วยที่ตำมหลังตัวเลขที่ให้เติมเพื่อควำมชัดเจนในกำรตอบ
หลีกเลี่ยงกำรใช้ถ้อยคำหรือข้อควำมที่ลอกจำกตำรำโดยตรง
หลีกเลี่ยงกำรสร้ำงคำถำมที่ใช้คำชี้แนะคำตอบ
ควรใช้คำถำมที่มุ่งให้คำตอบที่ตอบด้วย คำ วลี สัญลักษณ์หรือจำนวน เป็นคำตอบสั้นและมีคำตอบที่แน่นอน
ตัวอย่าง
จากภาพคือ
ไม่ดี
-ผู้ที่อุปสมบทได้ต้อง
___
ดีขึ้น
-ผู้ที่อุปสมบทได้ต้องเป็นชายอายุ
_
(20)
_
ปีบริบูรณ์
โจทย์ข้อนี้อาจตอบได้ว่าเป็นชาย,ไม่วิกลจริตหรือต้องมีอายุ 20ปีบริบูรณ์ก็ได้
พยายามเขียนปัญหาให้แจ่มชัด เฉพาะเจาะจงไม่กำกวม เพราะถ้าคำถามกำกวมจะทำให้ผู้ตอบเสียเวลาในการตีความ
จากภาพ
ไม่ดี
-สบู่เป็น
___
ดีขึ้น
-สบู่เป็นของผสมระหว่าง
_
(ไขมัน)
_
กับ
_
(ด่าง)
_
ขาดความเป็นปรนัยในกรณีที่เขียนประโยคนำไม่ดี
ข้อดีและข้อเสียของข้อสอบแบบเติมคำหรือแบบคำตอบสั้น
ข้อดี
สร้างง่าย รวดเร็ว
สามารถสร้างได้ครอบคลุมเนื้อหา
ลดการเดาได้
เหมาะสำหรับการแก้ปัญหาในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ข้อเสีย
วัดพฤติกรรมการเรียนรู้ในขอบเขตที่ไม่จำกัด ไม่เหมาะสำหรับการวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ซับซ้อน
หากคำถามไม่ชัดเจน จะทำให้คำตอบเป็นไปได้หลายอย่าง
มีความเป็นปรนัยในการตรวจให้คะแนนน้อยกว่าข้อสอบ
ปรนัยแบบอื่น ๆ