Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล, นางสาวลลิตา เรืองฤทธิ์ เลขที่ 112 รหัส…
ปัญหาจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล
การบริหารจัดการเพื่อลดปัญหาจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล
การฝึกอบรม
การพัฒนาตนเอง (self development)
การศึกษาเพิ่มเติม
แนวทางแก้ไขเมื่อเกิดปัญหาจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล
ปรึกษาผู้มีความรู้ ความชำนาญเฉพาะทาง
พึงระมัดระวังในการตอบคำถามของผู้อื่น/สื่อมวลชน
ติดต่อกับญาติผู้รับบริการ
รายงานผู้บังคับบัญชา
พยายามลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
ประเด็นปัญหาเชิงจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วย
ปัญหาการยินยอมโดยได้รับข้อมูล
ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและให้บริการเกินจำเป็น
ปัญหาด้านปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารกับผู้รับบริการและผู้ร่วมงาน
ปัญหาด้านความรู้และทักษะทางการพยาบาล
ปัญหาเกี่ยวกับชีวิตและการตายอย่างสงบและมีศักดิ์ศรี
ปัญหาการบอกความจริง
เกณฑ์ตัดสินจริยธรรม หมายถึง มาตรการที่จะบอกแก่เราว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ สิ่งใดถูก สิ่งใดไม่ถูก
แนวคิดทฤษฎีประโยชน์นิยม
แนวคิดทฤษฎีหน้าที่นิยม
แนวคิดจริยธรรมสำหรับพยาบาล
ความรับผิดชอบ (Accountability / Responsibility)
3) ความร่วมมือ (Cooperation)
การพิทักษ์สิทธิ หรือการทำหน้าที่แทน (Advocacy)
4) ความเอื้ออาทร (Caring)
มาตราการในการประกันความเสียหายอันเกิดแก่ประชาชน
มาตรการควบคุมทางศีลธรรม
มาตรการควบคุมทางกฎหมาย
มาตราการในการควบคุมคุณภาพของพยาบาล
การควบคุมสถาบันการฝึกศึกษาพยาบาล
การควบคุมคุณภาพผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
พฤติกรรมจริยธรรมของพยาบาลที่สัมพันธ์กับกฎหมาย
พฤติกรรมของพยาบาลที่มี จริยธรรมแต่ผิดกฎหมาย
พฤติกรรมของพยาบาลที่ถูกต้องตามกฎหมายแต่ไร้จริยธรรม
พฤติกรรมของพยาบาลที่ถูกต้องทั้งจริยธรรมและกฎหมาย
พฤติกรรมของพยาบาลที่ผิดกฎหมายและไร้จริยธรรม
สาเหตุที่พยาบาลถูกฟ้องร้อง
การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ หรือกฎเกณฑ์ของสถาบัน องค์กรและสังคม
ขาดความรู้ ไม่พัฒนาทักษะความรู้ วิทยาการใหม่ๆ
ขาดจิตสำนึก เคยชินกับการปฏิบัติ จนมีพฤติกรรมที่ขัดต่อความรู้สึกของผู้รับบริการ
เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาจริยธรรม
ทางด้านผู้ป่วย
ทางด้านการพยาบาล
ปัจจัยทางสังคม
ปัจจัยบุคลากรด้านอื่นๆ
ทางด้านหน่วยงานหรือองค์การ
หลักจริยธรรมเบื้องต้น
การไม่ทำอันตราย (Nonmaleficence)
ความยุติธรรม/เสมอภาค (Justice)
การทำประโยชน์เกื้อกูล (Beneficence)
การบอกความจริง (Varacity)
การเคารพเอกสิทธิ์ / ความเป็นอิสระ (Respect for Autonomy)
ความซื่อสัตย์ (Fidelity)
ประมวลกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความผิดในการปฏิบัติงาน
ประมวลกฎหมายอาญา
ลักษณะสำคัญของความผิดทางอาญา
เป็นกฎหมายที่ชัดแจ้ง มีกฎหมายบัญญัติความผิดไว้ชัดเจนว่าการกระทำนั้นเป็น
ความผิด
เป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง หากกระทำขณะไม่มีกฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
หากมีกฎหมายบัญญัติภายหลัง การกระทำนั้นจะถือเป็นความผิดตามกฎหมายไม่ได้
การรับผิดทางอาญา
ต้องเป็นการกระทำที่อยู่ในเกณฑ์ที่กฎหมายระบุว่าเป็นความผิด
เป็นการกระทำโดยเจตนา (เว้นกฎหมายระบุว่ากระทำไม่เจตนา/ประมาท ก็เป็นความผิด(ปอม.59)
การกระทำที่เป็นความผิดทางอาญา
การกระทำโดยประมาท
การกระทำโดยไม่เจตนา
การกระทำโดยเจตนา
การกระทำโดยงดเว้น
นางสาวลลิตา เรืองฤทธิ์ เลขที่ 112 รหัส 63122301114