Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดจิตและสังคม :silhouettes:, image - Coggle Diagram
การบำบัดจิตและสังคม :silhouettes:
1.กลุ่มจิตบําบัด Group psychotherapy
เป็นกลุ่มที่ให้สมาชิกเกิดความเข้าใจและพัฒนาความตระหนักรูู้อารมณ์ให้เกิดการเปลียนแปลงพฤติกรรม
เพิ่มทักษะในการเผชิธปัญหาด้วยตนเอง
ประกอบด้วย
สมาชิกกลุ่ม
ขนาดของกลุ่มจิตบำบัด ควรมีสมาชิกตั้งแต่ 4-8 คนแต่ไม่ควรเกิน 12 คน ถ้าขนาดใหญ่ขึ้นสมาชิกจะได้รับประสบการณ์ตรงและมีส่วนร่วมในกลุ่มน้อยมาก
ผู้ช่วยผู้นํากลุ่ม
ผู้นำกลุ่ม
กระบวนการดําเนินการกลุ่ม
ระยะดําเนินการของกลุ่ม
ผู้นํากลุ่มเปิดประเด็นเลือกหัวข้อที่จะพูดคุยในครั้งนี้
สมาชิกร่วมพูดคุย และสื่อสารกันมากขึ้น
3 ผู้นํากลุ่มกระตุ้นใหส้ มาชกิ ในกลุ่มเสนอแนะวิธีแก้ปัญหาและให้คำแนะนํา
4.เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์
5.ผู้ช่วยผู้นําจดบันทึก สรุปปัญหา
6.สมาชิกในกลุ่มมีการให้กำลังใจกันและกัน
ระยะยุติการทํากลุ่ม
ผู้นํากลุ่มมีการประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์ในการเข้าร่วมกลุ่ม
2.เปิดโอกาสให้สมาชิกได้พูดทบทวนสิ่งทีได้จากการเข้ากลุ่ม
ผู้นํากลุ่มมีการสรุปการเข้าร่วมกลุ่ม และให้กำลังใจ
ระยะเริ่มกลุ่ม
ผู้นํากลุ่มสรา้งสัมพันธภาพโดยให้ทุกคนแนะนําตัว
ผู้นํากลุ่มมีการแจ้งวัตถุประสงค์การทํากลุ่ม
มีการสร้างข้อตกลงและกฎกติการ่วมกัน
ผู้นํากลุ่มให้ข้อมูลการทํากลุ่มเวลา 15 นาที
ผู้ช่วยผู้นํากลุ่มช่วยสรุปประเด็นวัตถุประสงค์และ
กฎกติกาในการทํากลุ่มบําบัดครั้งนี้
หลักการของจิตบำบัดกลุ่ม
Under standing
Love
Action
ชนิด(group therapy)
Disdactic group เป็นกลุ่มที่ขึ้นอยู่กับความรู้ การใช้สติปัญญา
Therapeutic social club เป็นวิธีการที่ให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม ในการบริหารกิจกรรมต่าง ๆ ในหมู่นั้น
. 3.Repressive Inspiration group กลุ่มนี้ใช้การพูดคุยออกกำลังกายและผ่อนคลาย กลุ่มร้องเพลง
Free Interaction group ใช้วิธีวิเคราะห์จิตเข้าช่วย เพื่อจะได้เข้าลึกไปสู่จิตไร้สำนึก
Psychodrama เป็นวิธีการระบายของปัญหาที่ฝังลึกอยู่ในจิตใจ
1.จิตบำบัด (Counselling)
1.1 จิตวิเคราะห์ รูปแบบดั้งเดิม (Classical Psychoanalysis)
มีแนวความคิดว่าแรงผลักดัน หรือความขัดแย้ง หรือความต้องการที่ยอมรับไม่ได้ของบุคคลที่ถูกเก็บกดไว้ในจิตใต้สำนึกเป็นเหตุแห่งพฤติกรรมปัญหา การรักษามีจุดมุ่งหมายเพื่อนำสิ่งที่อยู่ภายในจิตใต้สำนึกขึ้นมาสู่จิตสำนึกกระบวนการบำบัดประกอบด้วย
1.2จิตวิเคราะห์แบบใหม่ (Modern Psychoanalysis)
จะไม่เน้นในเรื่องของการแปลความหมาย ( interpretation) ในสิ่งที่ผู้ป่วยเล่า แต่จะให้ความสำคัญในเรื่องของการแก้ไขภาวะการต่อต้าน ( resolving resistance) แทน ผู้รักษาจะช่วยให้ผู้ป่วยให้ค้นหาสิ่งจำเป็นพื้นฐานที่ผู้ป่วยต้องมี ถ้าผู้ป่วยต้องการมีพัฒนาการสูงขึ้น กิจกรรมของผู้รักษาก็คือ ช่วยให้ผู้ป่วยลดแรงต่อต้านลง เพื่อที่จะได้มีพัฒนาการและบรรลุถึงวุฒิภาวะทางอารมณ์ในที่สุด
2.จิตบำบัดโดยทฤษฎีมนุษยนิยม
2.1 การบำบัดโดยเน้นผู้มีปัญหาเป็นสำคัญ คาร์ล โรเจอร์ ( Karl Roger)
ผู้ที่มีปัญหาและแสวงหาความช่วยเหลือด้วยอย่างแข็งขันด้วยตนเอง นอกจากนี้ผู้รักษาจะไม่แสดงตนเองว่า เป็นผู้รู้ดีกว่าผู้มีปัญหา แล้วทำหน้าที่ชี้แนะแนวทางแก้ปัญหาให้ แต่จะให้ผู้มีปัญหาได้เรียนรู้ปัญหาและแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง โดยมีปรัชญาว่า การจะเริ่มตนการเปลี่ยนแปลงจะต้องมาจากผู้มีปัญหา
2.2 การบำบัดแบบเกสตอลท์ ( Gestalt Therapy )
การให้คนสามารถสนองความต้องการของตนเองได้ และจะเน้นในเรื่องปัจจุบัน ( here and now ) มีแนวคิดเกี่ยวกับคนว่าเป็นองค์รวม
2.3 การบำบัดแบบเอกซีสเทนเชียล
บุคคลแต่ละคนเป็นผู้กำหนดโชคชะตาของตนเอง ลิขิตชีวิตตัวเอง
ให้อิสระ
พฤติกรรมบำบัด
Extinetion
การยุติหรือหยุดยั้งพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
การค่อย ๆ ลดความรู้สึก
เป็นวิธีการวางเงื่อนไขสิ่งเร้ารูปแบบหนึ่งโดยการนำสิ่งเร้าที่เคยก่อให้เกิดความกลัว หรือความวิตกกังวลไปควบคู่กับสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดความรู้สึก ผ่อนคลาย
การบำบัดด้วยสิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์ (Aversion therapy)
วิธีได้นำหลักของการลงโทษมาใช้โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะขจัดพฤติกรรมที่ไม่พึงปราถนา หรือพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ให้หมดสิ้นไป
การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforecoment)
โดยการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขนั้น ๆ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการหรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ และลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลง
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด(Milieu Therapy)
1.การจัดสถานที่
1.1 สภาพแวดล้อมควรมีลักษณะคล้ายบ้าน เงียบ สงบ ปลอดภัย
1.2 สภาพบรรยากาศภายในหอผู้ป่วย ควรมีความอบอุ่นเป็นมิตร โดยแนะนำสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ให้เขาได้รู้จัก คุ้นเคยสถานที่ เพื่อให้เขาได้รู้สึกว่าได้รับการยอมรับ ลดความกลัวหรือวิตกกังวลและรู็สึกปลอดภัย
2.บุคคลากร
จิตแพทย์,พยาบาล,นักจิตวิทยา,นักสังคมสงเคราะห์,นักอาชีวบำบัด
3.การจัดกิจกรรมบำบัด
กิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการอยู่กับความเป็นจริง และส่งเสริมให้พัฒนาทักษะทางสังคม เพราะกิจกรรมทำให้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
หลักในการจัดบรรยากาศของการบำบัด
1.โปรแกรมที่วางแผนอย่างดีที่สุด โดยการร่วมมือกันระหว่างผู้ใช้บริการและผู้บำบัดเท่านั้น
2.คำนึงถึงความเหมาะสมกับผู็ใช้บริการแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม
3.การช่วยเหลือผู้ใช้บริการ ควรกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกอยากทำงานหรืออยากแสดงออกให้สังคมประจักษ์ในความสามารถของเขา
4.อาจมีปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้นเสมอไม่มากก็น้อย