Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 เชื้อเพลิงและการเผาไหม้ - Coggle Diagram
บทที่ 5 เชื้อเพลิงและการเผาไหม้
ความหมาย
-หลักการเผาไหม้
:red_flag:คือ การคุมการเผาไหม้ให้สมบูรณ์ทำได้โดยควบคุมปริมาณอากาศและเชื้อเพลิง เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ที่ใกล้เคียงกับทฤษฎี
:red_flag:หลักการของการเผาไหม้ที่ดีมีดังนี้
3.อุณภูมิในห้องเผาไหม้ต้องสูงเพียงพอที่จะทำให้เกิดการเผาไหม้ต่อเนื่องกันไป
2.เวลที่ใช้ในการเผาไหม้เพียงพอ
1.การผสมระหว่างเชื้อเพลิงกับอากาศต้องเป็นไปอย่างทั่วถึง
-ชนิดและการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
:red_flag:แหล่งพลังงานความร้อนสหรับหม้อไอน้ำ มีทั้งแบบที่มีการเผาไหม้และไม่มีการเผาไหม้ การเลืกใช้เชื้อเพลิงมีปัจจัยการพิจารณา คือ
1.ราคาของเชื้อเพลิง
2.ปริมาณและความต่อเนื่องในการจัดหาเชื้อเพลิงต้องสม่ำเสมอ
3.ราคาและเทคโนโลยีของระบบการเผาไหม้
5.มลพิษที่จะเกิดขึ้นหลังจากการเผาไหม้เชิ้อเพลิง
4.ความสะดวกในการเก็บและลำเลียงเชื้อเพลิง
6.การต่อต้านจากชุมชนใกล้เคียงในการใช้เชื้อเพลิง
-ทฤษฎีการเผาไหม้
:red_flag:
การเผาไหม้
หมายถึง ปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างธาตุในเชื้อเพลิงกับออกซิเจน ซึ่งทำให้พลังงานความร้อนขึ้น
:red_flag:
การเผาไหม้ที่สมบูรณ์
คือ การเผาไหม้ที่ให้ปริมาณความร้อนเท่ากับค่าความร้อนของเชื้อเพลิงที่ได้จากการเผาไหม้จะอยู่ในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และน้ำ
5.1 พลังงานไฟฟ้า
เหตุผลของการใช้หม้อไอน้ำไฟฟ้าเพื่อผลิตไอน้ำ
4ไม่ต้องมีที่เก็บเชื้อเพลิง
5.มีค่าเชื้อเพลิงแพงที่สุดเมื่อเทียบกับเชื้อเพลิงชนิดอื่น
3.ไม่มีปล่องไฟ
6.เหมาะกับงานขนาดเหล็กที่ผลิตไอน้ำไม่มาก
2.ไม่มีมลภาวะ ไม่เกิดไอเสีย
7.มีขนาดกำลังผลิตประมาณ 10-2,000 Kg/h
1.ใช้งานสะดวก ควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติ
8.ส่วนใหญ่ใช้กับความดันไม่เกิน 20 บาร์
9.การผลิตไอน้ำใช้พลังงานไฟฟ้า 9.8 kW/แรงม้าหม้อไอน้ำ
5.3 เชื้อเพลิงก๊าซ
5.3.1เชื้อเพลิงก๊าซหุงต้ม/ก๊าซแอลพีจี
เป็นเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมชองก๊าชโพรเพนและก๊าชบิวเทน โดยอาจมีก๊าซโพรเพน 100%, 70%, 60% หรือ 50% ของส่วนผสมนั้น เชื้อเพลิงก๊าชหุงต้มมีค่าความร้อน สูงประมาณ 50,041 kJ/kg หรือ 47,430 BTU/kg
การใซัเชื้อเพลิงก๊าชหุงต้ม
ถ้าหม้อไอนํ้ามีขนาดกำลังผลิตมากกว่า 0.5 ตัน/ชม. ควรใช้ถังก๊าชหุงต้มแบบถังก๊าซ 2 หัวจ่าย ที่มีอีกหนึ่งหัวจ่ายสำหรับดูดก๊าซหุงต้มเหลวก้นถังขึ้นมา แล้วใช้เครื่องระเหยก๊าซหุงต้ม (vaporizer)
5.3.2 เชื้อเพลิชก๊าชธรรมชาติ
ประกอบด้วยก๊าซหลายชนิด แต่มีก๊าซมีเทนและก๊าช อีเทนเป็นองค์ประกอบใหญ่ ประกอบด้วยมีเทนประมาณ 80-90% และอีเทนประมาณ 5-15%
5.3.3 ก๊าซชีวภาพ
ก๊าซชีวภาพ คือ ก๊าซที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยเชื้อจุลินทรีย์ภายใต้สภาวะ ที่ปราศจากออกซิเจน ก๊าซชีวภาพประกอบด้วยก๊าชหลายชนิด แต่ส่วนใหญ่จะเป็นก๊าซมีเทน ประมาณ 50-70% และก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ ประมาณ 30-50%
5.3.4 หัวพ่นไฟเชื้อเพลิงก๊าซ
หัวพ่นไฟก๊าซแบบผสมก่อน เป็นหัวพ่นไพ่ก๊าซที่เชื้อเพลิงก๊าซและ อากาศสำหรับเผาไหม้ลูกผสมกันก่อนภายในตัวหัวพ่นไพ่ จากนั้นก๊าชที่ผสมแล้วจะถูกฉีดออกจากหัวฉีด เพื่อให้เกิดการเผาไหม้
2.หัวพ่นไฟก๊าซแบบผสมภายนอก (nozzle mix gas burner) เป็นหัวพ่นไฟก๊าชที่ก๊าซ เชื้อเพลิงและอากาศที่ใช้เผาไหม้ทั้งหมดถูกผสมกันแบบสัมผัสที่ห้องเผาไหม้เลย ไม่มีการผสมกันก่อนใน ตัวหัวพ่นไพ่ หัวพ่นไพ่ก๊าซแบบนี้ใช้กันแพร่หลายในหม้อไอนั้าอุตสาหกรรม
5.5สรุป
การเปรียบเทียบปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไอนํ้า
นํ้ามัน (l)
ปริมาณไอนํ้าที่ผลิตได้ (kg) ต่อหนึ่งหน่วยเชื้อเพลิง
14
ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตไอนํ้า 1,000 kg
71
ถ่านหิน (kg)
ปริมาณไอนํ้าที่ผลิตได้ (kg) ต่อหนึ่งหน่วยเชื้อเพลิง
8
ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตไอนํ้า 1,000 kg
125
ก๊าซหุงต้ม LPG (kg)
ปริมาณไอนํ้าที่ผลิตได้ (kg) ต่อหนึ่งหน่วยเชื้อเพลิง
17
ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตไอนํ้า 1,000 kg
59
ก๊าซธรรมชาติ (therm)
ปริมาณไอนํ้าที่ผลิตได้ (kg) ต่อหนึ่งหน่วยเชื้อเพลิง
345
ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตไอนํ้า 1,000 kg
2.9
ไฟฟ้า (kW)
ปริมาณไอนํ้าที่ผลิตได้ (kg) ต่อหนึ่งหน่วยเชื้อเพลิง
1.6
ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตไอนํ้า 1,000 kg
625
5.2เชื้อเพลิงเหลว
5.2.1คุณสมบัติที่สำคัญของเพลิงเหลวสำหรับการเผาไหม้
1.ค่าความร้อนของเชื้อเพลิง
1.1ค่าความร้อนสูงของเชื้อเพลิง
คือ ค่าความร้อนทั้งหมดที่ได้จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ โดยยังไม่ได้หักหรือลบค่าความร้อนที่เสียไป
1.2ค่าความร้อนต่ำของเชื้อเพลิง
คือ ค่าความร้อนทั้งหมดที่ได้จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ที่หักหรือลบค่าความร้อนที่เสียไป
2.ความถ่วงจำเพาะ
เป็นคุณสมบัติที่ใช้วัดความหนักหรือความเบาของน้ำมันเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำ
3.ความหนืด
เป็นค่าความคล่องตัวของการไหลในท่อ หรือความสามารถในการถูกฉีดพ่นให้เป็นละอองขนาดเล็กของเชื้อเพลิงเหลว
4.จุดไหลเท
เนื่องจากเชื้อเพลิงเหลวจะมีความหนืดสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลงและถ้าเชื้อเพลิงเหลวมีความหนืดสูงขึ้นถึงจุดหนึ่ง เชื้อเพลิงเหลวจะไม่สามารถไหลใยท่อหรือปั๊มส่งไปตามท่อได้
5.จุดวาปไฟ
เมื่อเชื้อเพลิงเหลวมีอุณหภูมิสูงขึ้นบางส่วนจะระเหยกลายเป็นไอเชื้อเพลิง
6.จุดติดไฟ
ถ้าเชื้อเพลิงเหลวมีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าจุดวาปไฟ จะเกิดการระเหยกลายเป็นไอเชื้อเพลิงมากขึ้น และเกิดการเผาไหม้ขึ้นตลอดเวลา
5.2.2 ชนิดของเชื้อเพลิงเหลว
1.น้ำมันดีเซล คุณสมบัติคือ ใสสะอาด แต่มีการใช้น้อยในหม้อไอน้ำ
2.น้ำมันเตา A มีค่าความร้อนสูงเท่ากับ 41,240 kJ/l มีสีดำสกปรก และมีความหนืดสูง
3.น้ำมันเตา C มีค่าความร้อน 41,035 kJ/l มีสีดำ สกปรก และมีความหนืดสูงกว่าน้ำมันเตา A
4.น้ำมันเตา D มีราคาถูกว่าน้ำมันเตา C เล็กน้อย
5.น้ำมันที่ใสกว่าน้ำมันดีเซล เชน น้ำมันก๊าด มีการใช้งานกับหม้อไอน้ำน้อยมาก
5.2.3 หัวพ่นไฟเชื้อเพลิงเหลว
1.หัวพ่นไฟแบบฉีดน้ำมันความดันสูง
:red_flag:การใช้งานหัวพ่นไฟแบบฉีดนํ้ามันความดันสูง
(1)หัวพ่นไฟแบบฉีดนั้ามันความดันสูงมักจะมีขนาดเล็ก
(2) เนื่องจากรูหัวฉีดนํ้ามันมีขนาดเล็ก ฝุ่นผงหรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ จะเข้าไปอุดตันได้ง่าย
(3) ต้องล้างทำความสะอาดหัวฉีดบ่อย ๆ
(4) ถ้าอุ่นนํ้ามันเตาอุณหภูมิสูงเกินไป (มากกว่า 125 °C) นั้ามันเตาที่มีอุณหภูมิสูงบางส่วนจะกลายเป็นของแข็งที่เหมือนเม็ดทรายสึดำ ขนาดเล็ก และไปอุดตัน รูหัวฉีดนั้ามัน
(5) ควรติดตั้งไส้กรองนั้ามันความละเอียด 250 ไมครอน
(6) หัวพ่นไฟแบบฉีดนั้ามันความดันสูงที่ใช้นํ้ามันดีเซลส่วนใหญ่จะมีป๊มนํ้ามันอัดความดัน ประมาณ 7 บาร์
(7) หัวฉีดนํ้ามันแบบฉีดนํ้ามันความดันสูงส่วนใหญ่จะเป็นหัวฉีดนํ้ามันสำเร็จรูป
(8) ถ้าบอกขนาดของหัวฉีดนํ้ามันเป็นเบอร์หัวฉีด (ที่ไม่มีหน่วยบอกอัตราการไหล) เลขเบอร์ หัวฉีดนี้จะเท่ากับอัตราการพ่นนํ้ามันของหัวฉีดนํ้ามันที่ความดัน 100 PSI (6.9 บาร์)
(9) ถ้าความดันของน้ำมันที่หัวฉีดไม่ใช่ 100 PSI อัตราการฉีดนํ้ามันของหัวฉีดนํ้ามันจะเปลี่ยนแปลง
(11) ถ้าใช้นํ้ามันเตา ควรใช้หัวพ่นไฟแบบที่ใช้หัวฉีดนํ้ามันแบบ spill type nozzle ที่มีไฮดรอลิก วาล์วปิด-เปิดนํ้ามันเตาที่ปลายหัวฉีด
(12) ข้อดีของหัวฉีดนํ้ามันแบบ spill type nozzle
- มีนํ้ามันเตาร้อนเวียนมาถึงปลายหัวฉีดตลอดเวลา - รูฉีดนี้ามันมีขนาดใหญ่กว่าหัวฉีดแบบธรรมดา - ไม่มีนํ้ามันหยดที่ปลายเมื่อหยุดเดินเครื่อง - หัวพ่นไฟสามารถเร่งหรี่การเผาไหม้แบบ proportional ได้
2.หัวพ่นไฟแบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามัน
:red_flag:การใช้งานหัวพ่นไฟแบบใช้ลมหรือไอน้ำฉีดน้ำมัน
(1) ถ้าเป็นหัวพ่นไฟแบบใช้ลมฉีดนํ้ามัน ระบบจะต้องมีปัมลม
(2) หัวพ่นไพ่แบบใช้ไอนํ้าฉีดนํ้ามัน ระบบฟ่อไอนํ้าจะต้องมีชุดลดความดันไอนํ้า และต้องมี ระบบการปล่อยนี้ากลั่นตัว
(3) หัวพ่นไฟแบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามันจะมีขนาดตั้งแต่ 0.5-120 ตันไอนํ้า/ชม.
(4) ละอองนํ้ามันที่ได้จากหัวพ่นไฟแบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามันจะมีขนาดเล็กมาก
(5) หัวพ่นไพ่แบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามันเหมาะกับการพ่นนํ้ามันเตา
(6) หัวพ่นไฟแบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามันจะมีปัญหานํ้ามันที่ไม่เผาไหม้ในห้องเผาไหม้กลาย เป็นถ่านคล้ายรังผึ้งน้อยกว่าหัวพ่นไฟแบบอื่น
(7) หัวพ่นไฟแบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามันต้องการการล้างทำความสะอาดหัวฉีดน้อย
(8) หัวพ่นไพ่แบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามันต้องการการอุ่นน้ำมันเตาด้วยอุณหภูมิที่ตํ่ากว่า คือ ประมาณ 80-105°C
(9) หัวพ่นไพ่แบบใช้ลมหรือไอนํ้าฉีดนํ้ามันส่วนใหญ่เป็นการเร่งหรี่การเผาไหม้แบบต่อเนื่อง
หัวพ่นไฟแบบถ้วยหมุน
:red_flag:การใช้งานหัวพ่น ไฟแบบถ้วยหมุน
(1) หัวพ่นไฟแบบถ้วยหมุนเหมาะจะใช้กับนํ้ามันที่มีความหนืดสูง เช่น นํ้ามันเตา
(2) หัวพ่นไพ่แบบถ้วยหมุนต้องอุ่นนํ้ามันเตาด้วยอุณหภูมิประมาณ 60-90°C
(3) หัวพ่นไพ่แบบถ้วยหมุนเหมาะที่จะใช้พ่นนํ้ามันปริมาณมาก ๆ
(4) หัวพ่นไฟแบบถ้วยหมุนส่วนใหญ่เป็นการเร่งหรี่การเผาไหม้แบบต่อเนื่อง
(5) ขนาดของละอองเม็ดนํ้ามันเตาของหัวพ่นไฟแบบถ้วยหมุนจะมีขนาดใหญ่
(6) การบำรุงรักษาหัวพ่นไพ่แบบถ้วยหมุนควรเปิดหัวพ่นไฟออกมาเช็ดทำความสะอาดถ้วย หมุนทุก ๆ 4-6 ชม.
5.2.4การควบคุมการเร่งหรี่หัวพ่นไฟ
1.การควบคุมการเร่งหรี่แบบเปิด/ปิด
หัวพ่นไฟจะป้อนเชื้อเพลิงเข้าไปเผาไหม้ใน อัตราสูงสุดตามที่ออกแบบไว้ เมื่อความดันไอนํ้าภายในหม้อไอนํ้าเพิ่มชื้นถึงจุดที่กำหนดไว้ หัวพ่นไพ่ก็จะ หยุดป้อนเชื้อเพลิงทันที
2.การควบคุมการเร่งหรี่แบบขั้นบันได
การควบคุมการ เร่งหรี่แบบขั้นบันไดจะใช้งานกับหม้อไอนํ้าขนาดกลางกำลังผลิตไม่เกิน 2 ตัน/ชม. การเร่งหรี่อาจมี 2 ระดับ หรือ 3 ระดับ
3.การควบคุมการเร่งหรี่แบบต่อเนื่อง/ผันแปร
การควบคุมการเร่ง หรี่แบบต่อเนื่องจะใช้งานกับหม้อไอน้ำขนาด 0.5 ตัน/ชม. ขึ้นไป เป็นการควบคุม การทำงานของหัวฉีดแบบปรับอัตราการไหลของเชื้อเพลิงตลอดเวลา โดยใช้วาล์วเชื้อเพลิงแบบที่ปรับอัตรา การไหลได้
5.2.5 ระบบท่อและถังเก็บน้ำมัน
สำหรับหม้อไอนํ้าที่มีการใช้นํ้ามันเชื้อเพลิงมากพอสมควร ถังเก็บนํ้ามันเชื้อเพลิง ควรมีขนาดใหญ่กว่า 20,000 ลิตร เนื่องจากปัจจุบันทางบริษัทน้ำมันจะขนส่งนํ้ามันเชื้อเพลิงด้วย รถขนส่งขนาด 15,000 ลิตร ถ้าถังเก็บนํ้ามันเชื้อเพลิงมีขนาดเล็กกว่า 15,000 ลิตร
5.4เชื้อเพลิงแข็ง
5.4.1 ถ่านหิน
1.ถ่านหินแอนทราไซด์ (C94H3O3N0.3S0.3)
2.ถ่านหินบิทูมินัส (C85H5O10N0.3S0.3)
3.ถ่านหินซับบิทูมินัส (C75H5O20N0.3S0.3)
4.ถ่านหินลิกไนต์ (C70H5O25N0.7S0.6)
5.4.2 วัสดุทางการเกษตร
วัสดุทางการเกษตร เกือบทุกอย่างสามารถนำมาเผาไหม้ในหม้อไอนํ้าเพื่อใช้ผลิตไอนํ้าได้ เช่น การนำไม้หรือแกลบมาใช้เป็น เชื้อเพลิงให้กับหม้อไอนํ้าเพื่อผลิตไฟฟ้าขนาดตํ่ากว่า 10 MW
5.4.3 ระบบการป้อนเชื้อเพลิงแข็ง
1.การป้อนจากใต้ห้องเผาไหม้ (underfeed stoker)
2.การป้อนด้านบนห้องเผาไหม้ (overfeed stoker)
(1) การป็อนฝานช่องประตู
(2) การป้อนแบบตะกุยหรือหว่านกระจาย
5.4.4 ระบบการเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็ง
1.ตะกรับแบบอยู่กับที่ (fixed grate)
2.ตะกรับแบบเพลาดัน (pushing grate)
3.ตะกรับแบบเขย่า (vibrating grate)
4.ตะกรับแบบเคลือนที (chain/travelling grate stoker)
5.4.5 ฟลูอิดไดซ์เบด
ฟลูอิดไดซ์เบดเป็นระบบการเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็งแบบเดือดที่ทำให้เชื้อเพลิงแข็งมีขนาดเล็ก ประมาณ 3 มิลลิเมตร ผสมกับของแข็ง เช่น ทราย
ชัอดี
1.การเผาไหม้มีลักษณะเดือดคล้ายของเหลว และมีการคลุกเคล้าสัมผัสกันระหว่างของแข็งกับ ของแข็ง และของแข็งกับของไหลอย่างมีประสิทธิภาพ
2.ฟลูอิดไดช์เบดมีการผสมกันอย่างทั่วถึงระหว่างอากาศและของแข็ง ทำให้มีอุณหภูมิ สมํ่าเสมอทั่วทั้งเตา
3.ฟลูอิดไดซ์เบดมีอัตราการถ่ายเทมวลและความร้อนสูง ทั้งในส่วนของก๊าซร้อนและของแข็ง และเชื้อเพลิงแข็ง
4.เหมาะสมและง่ายต่อการขยายขนาดหม้อไอนํ้าให้ใหญ่ขึ้น
5.สามารถใช้งานกับหม้อไอนํ้าตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ และใช้งานได้กับ เชื้อเพลิงแข็งแบบหลากหลายประเภท
ข้อด้อย
1.หากเกิดลูกโปงอากาศ (bubble) ในส่วนผสมที่กำลังคลุกเคล้าอยู่ในเตา จะลดประสิทธิภาพ การสัมผัสกันของเชื้อเพลิงภายในเตา
2.อาจต้องมีการป้อนของแข็งใหม่ เนื่องจากเกิดการแตกตัวของของแข็งที่เปราะและหลุดลอย ออกไปจากเตา
3.เกิดการกัดกร่อนของพ่อภายในเตาที่ห้องเผาไหม้ อาจทำให้ท,อนํ้าของหม้อไอนํ้าบางลงจาก ภายนอกจนแตกออก
4.ถ้าไม่สามารถควบคุมระบบจ่ายอากาศในหม้อไอนํ้าฟลูอิดไดซ์เบดให้ราบเรียบได้ ต้องหยุดเดินเครื่องเพื่อทำความสะอาด
5.4.6 ฟลูอิดใดช์เบดแบบหมุนเวียน
ฟลูอิดไดซ์เบดแบบหมุนเวียนเป็นระบบฟลูอิดไดช์เบดที่มีการหมุนเวียนเอาของแข็งที่หลุดลอย ออกจากเตามาแยกออกจากก๊าซร้อนด้วยไซโคลน
ข้อดี
1.มีการสัมผัสกันระหว่างของแข็งกับก๊าซร้อนดีขึ้น
2.ความเร็วที่ไหลผ่านของไหลสูง ทำให้อัตราการถ่ายเทความร้อนสูง
3.สามารถลดปัญหาการหลอมของเถ้าได้ ทำให้ไม่ต้องหยุดเตาโดยไม่จำเป็น
4.มีความหนาแน่นของการไหลของของแข็งสูง
ข้อด้อย
1.ขนาดของเครื่องจะใหญ่และสูงขึ้น เนื่องจากต้องมีไซโคลนที่ใช้แยกของแข็งเพิ่มเข้ามา
2.มีราคาแพงกว่า
3.มีความซับช้อนในการออกแบบและควบคุมการหมุนเวียนของอนุภาคในเตา
5.4.7 พูลเวอไรเซชัน
พูลเวอไรเซชันเป็นหัวพ่นไฟแบบที่บดถ่านหินให้เป็นอนุภาคฝ่นผงขนาดเล็ก ๆ ก่อน แล้วให้ลม เผาไหม้เป็นตัวพาผงถ่านหินขนาดเล็กเข้าไปในห้องเผาไหม้โดยใช้หัวพ่นไฟ
ข้อดี
1.มีปฏิกิริยาการเผาไหม้ของถ่านทินเร็ว เนื่องจากขนาดของถ่านหินเล็กมาก
2.สามารถปรับอัตราการจ่ายเชื้อเพลิงได้เร็วขึ้น เพราะเป็นแบบหัวพ่นไฟ
3.สามารถเปลี่ยนแปลงอัตราการผลิตไอนํ้าได้รวดเร็วขึ้น
4.เหมาะกับหม้อไอนํ้าในโรงไพ่ฟ้าที่มีขนาดใหญ่มาก ๆ
ข้อด้อย
1.ต้องมีกระบวนการบดย่อยถ่านหินให้เล็กลงเป็นฝุ่นผง
2.มีฝุ่นละอองจากกระบวนการบดถ่านหินที่ต้องจัดการควบคุม
5.4.8 การระเบิดในห้องเผาไหม้ของเชึ้อเพลิงแข็ง
1.มีการป้อนเชื้อเพลิงแข็งเข้าไปในห้องเผาไหม้มากเกินไป จึงเกิดก๊าชที่เผาไหม้ไม่หมด
2.มีการป้อนเชื้อเพลิงแข็งที่เปียกหรือชื้นมากเข้าไปในห้องเผาไหม้
3.เชื้อเพลิงแข็งมีสารระเหยมาก เช่น ไม้หรือถ่านหินบางชนิด
4.ปรับพัดลมดูดและส่งไม่สมดุลกัน หรือพัดลมหยุดทันที
5.เปาเขม่าในขณะที่ยังเร่งเครื่องไม่พอ