Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ ๒๑ นพ.วิจารณ์ พานิช - Coggle Diagram
วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ ๒๑ นพ.วิจารณ์ พานิช
ภาค ๑ ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
:red_flag:ความเข้าใจบทบาทของการศึกษา ศ.๒๑ มี ๔ บทบาทด้วยกัน
เพื่อการทำงานและเพื่อสังคม
เพื่อฝึกฝนสติปัญญาของตน
เพื่อทำหน้าที่พลเมือง
เพื่อสืบทอจารีตและคุณค่า
:red_flag:ทักษะครูเพื่อศิษย์ไทยใน ศ.๒๑
สอนน้อยเรียนมาก
:red_flag:ศาสตราใหม่สำหรับครูเพื่อศิษย์
:pencil2:การเรียนรู้ 3Rx7c
:pencil2:ผันตัวเองเป็น "โค้ช" หรือ "คุณอำนวย"
:red_flag:พัฒนาสมอง ๕ ด้าน
ด้านวิชาและวินัย
ด้านสังเคราะห์
ด้านสร้างสรรค์
ด้านเคารพให้เกียรติ
ด้านจริยธรรม
:red_flag:ทักษะเรียนรู้และนวัตกรรม
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสื่อสาร
ความริเริ่มสร้างสรรค์
:red_flag:ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
สอนไม่ได้/สอนได้น้อยมาก นร.ต้องเรียนเอาเองโดยการฝึกฝน ครูจะโค้ช
:red_flag:ทักษะด้านความเป็นนานาชาติ
ครูต้องศึกษาหาช่องทางทำความรู้จักเพื่อร่วมมือกับครูในประเทศอื่นที่สนใจเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมร่วมกัน
สำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนควรมีสำนักที่ช่วยเอื้ออำนวยความสะดวกสร้างทักษะ ด้านความเป็นนานาชาติ ด้สยการเรียนแบบ PBL เป็นทีมผสมผสาน นานาชาติ ระหว่างนักเรียนในประเทศสมาชิก
:red_flag:ทักษะอาชีพและทักษะชีวิต
ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
การริเริ่มและกำกับดูแลตนเองได้
ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม
การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้
ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ
:red_flag:ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใช้เทคโนโลยีใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้และประเมินสารสนเทศได้อย่างเท่ากัน
วิเคราะห์และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
ภาค ๖ มองอนาคต...ปฏิรูปการศึกษาไทย
:tada:Inquiry-Based Learning
เป็นการเรียนโดยให้ผู้เรียนตั้ง
คำถามทำความชัดเจนของคำถามแล้วดำเนินการหาคำตอบเอาเอง
เป็นการเรียนแบบที่เรียกว่า OpenLearning คือ ไม่มีคำถามและคำตอบตายตัว เป็นรูปแบบการเรียนที่ผู้เรียนได้ฝึกฝนความริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ
:tada:ทักษะจัดการสอบ
ครูต้องมองการสอบเป็น “ตัวช่วย” ต่อการเรียนรู้ ไม่ใช่เป็นตัวตัดสินชะตาชีวิต
สอบบ่อยๆ ใช้เวลาไม่มาก ข้อสอบไม่กี่ข้อ และให้ศิษย์รู้คำตอบทันทีหรือเกือบทันที ให้มีทั้งที่คิดคะแนนสะสม และไม่คิดคะแนนมีการสอบที่ข้อสอบเน้นความคิด ไม่มีคำตอบถูกผิด อยู่ด้วย ทั้งหมดนั้นเพื่อสะท้อนให้ศิษย์รู้ว่าตนรู้และไม่รู้อะไรบ้าง ให้มีความมั่นใจตนเอง และหมั่นปรับปรุงตนเอง
:tada:เรียนรู้จาก Malcolm Gladwell
เห็นคุณค่าและเคารพความแตกต่าง
หลากหลายของผู้คน
ออกแบบการเรียนรู้ให้ศิษย์ของตนเกิดทักษะนี้จนกลายเป็นนิสัยนิสัยเคารพความเห็น ความรู้สึกของผู้อื่นที่แตกต่างจากความเห็น ความรู้สึกของตน
ครู พ่อ แม่ จัดวิธีเรียนที่เรียกว่า PBL
(ProjectBased Learning)
:tada:PLC สู่ TTLC
ครูต้องไม่เน้นทำหน้าที่สอน แต่เปลี่ยนมาเน้นทำหน้าที่กระตุ้นและส่งเสริม(facilitate) การเรียนรู้ของศิษย์ และคอยตรวจสอบว่าศิษย์เรียนรู้ได้จริงหรือไม่ ศิษย์แต่ละคนเรียนรู้ได้ต่างกันอย่างไร
:tada:แรงต้านที่อาจต้องเผชิญ
แรงต้านที่วงการศึกษาไทยกำลังอยู่มีมากมายแต่ครูเพื่อศิษย์ต้องไม่ท้อถอยหาดมีแรงต้าน เรารวมตัวกันเป็นชุมชน และเครือข่ายดำเนินการเพื่อพิสูจน์ผลดีต่อเด็กพิสูจน์ที่ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ของเด็กก็จะช่วยลดแรงต้านได้
:tada:สิ่งที่ประเทศไทยต้องทำเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
๑. ยกเลิกระบบการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งของครู
๒. มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์เพิ่มผลสัมฤทธิ์ของศิษย์ทั้งโรงเรียนหรือทั้งเขตการศึกษา แล้วคณะครูและทุกฝ่ายช่วยกันดำเนินการ
๓. ปราบปรามคอรัปชั่นเรียกเงินในการบรรจุหรือโยกย้ายครู
๔. แบ่งเงินลงทุนเพิ่มด้านการศึกษา ครึ่งหนึ่งไปไว้สนับสนุนการเรียนรู้ของครูประจำการในลักษณะการเรียนรู้ในการทำหน้าที่ครู
๕. จัดงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประจำปี ด้านการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
ส่งเสริมกาเรียนรู้แบบPBL เป็นเครื่องมือให้นักเรียนเรียนรู้ในมิติที่ลึกและ
ซับซ้อน ตามแนวทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๖. ยกระดับข้อสอบ National Education Test (NET) ให้ทดสอบการคิดที่ซับซ้อน (complex thinking) และทักษะที่ซับซ้อน (complexskills)
ภาค ๒ แนวคิดการเรียนรู้สำหรับครูเพื่อศิษย์
:star:การเรียนรู้และการสอนใน ศ.๒๑
ไม่มีเครื่องมือใดสำคัญกว่าการตั้งคำถามและการถกปัญหาพร้อมทั้งหาคำตอบด้วยวิธีสร้างสรรค์
:star:การเรียนรู้อย่างมีพลัง
จักรยาน ๔ ล้อ : Define,Plan,Do และ Review
เรียนรู้กลุ่มย่อยแบบร่วมมือกัน
เรียนรู้แบบใช้โครงการ
เรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานคิด
:star:สอนน้อย เรียนมาก
สอนเท่าที่จำเป็นแต่ใช้เวลาในการออกแบบการเรียนรู้และทบทวนผลการเรียนรู้มาก
:star:ครูเพื่อศิษย์ชี้ทางแห่งหายนะที่รออยู่เบื้องหน้า
.ใช้วิธีการสอนโดยตรงจากเรื่องเล่าชีวิตเพื่อให้ นร.เกิดทักษะในการประคองชีวิตตนเอง
:star:สมดุลใหม่ในการทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์
ภาค ๔ บันเทิงชีวิตครูสู่ชุมชนการเรียนรู้
:explode:PCLเปลี่ยนชีวิตครู
โรงเรียนจะเปลี่ยนไปเป็นสถานที่ที่ทุกคนอยู่กันอย่างมีความสุข(Happy Workplace) และเป็นองค์กรเรียนรู้ ซึ่งหมายความว่า PLC จะเปลี่ยนแปลงนักเรียน ครู ผู้บริหาร และโรงเรียนอย่างต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง
:explode:หักดิบความคิด
หากจะให้ศิษย์เรียนรู้ได้จริงเรียนรู้อย่างลึกและเชื่อมโยง ครูต้องหักดิบความเคยชินของตนเปลี่ยนจากสอนโดยการบอก เป็นลงมือทำ โดยใช้กระบวนการ PBL
:explode:เวทีครูเพื่อศิษย์ไทย
การเรียนรู้จากของจริง จากการกระทำ ไม่ใช่เรียนจากตำราหรือจากคนอื่นบอก เป็นการเรียนรู้แบบที่เรียกว่าลงมือทำเอง (ActionLearning หรือ Learning by Doing) ที่ครูเพื่อศิษย์จะต้องฝึกฝนตนเองไปตลอดชีวิต
:explode:กำเนิด PCL
เป็นเครื่องมือที่จะช่วยนำไปสู่การตั้งโจทย์และทำ "วิจัยในชั้นเรียน" ผ่านกระบวนการของการวิจัยแต่เชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงของนักเรียนและครู...
:explode:โจทย์ของครูธนิตย์
จัดลำดับความสำคัญของชีวิตไม่หลงมัวเมากับสิ่งที่ยั่วยวน ควรแบ่งเวลาชีวิตเป็นส่วน ๆ ส่วนเพื่อศิษย์ เพื่อครอบครัว เพื่อพักผ่อน....
:explode:จัดการความเห็นพ้องและความขัดแย้ง
ใช้พลังลบให้เป็นพลังบวกของการสร้างการเปลี่ยนแปลง
ทำให้ความไม่เห็นพ้องเป็นเรื่องธรรมดา
นำเอาความไม่เห็นพ้องมาเปิดเผย
ใช้เป็นรายละเอียดของการทำงานที่จะไม่ทำให้เกิดความยุ่งยากบางอย่างที่ผู้เห็นพ้องนึกไม่ถึง
:explode:นร.บางคนเรียนไม่ทัน
ต้องมีระบบช่วยเสริมการเรียนู้ของศิษย์ในช่วงเวลาปกติ โดยระบบช่วยเหลือนักเรียนที่มีตัวย่อว่า "SPEED"
:explode:มุ่งเป้าหมายการเรียนรู้
นักเรียนได้เรียนรู้เท่าที่จำเป็น การเดินทาง PLC ที่ครูร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ทำความเข้าใจผลที่เกิดขึ้น แล้วนำมาคิดหาวิธีปรับปรุง เป็นหนหางที่ต่อเนื่องยั่งยืนของการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
:explode:มุ่งมั่นชัดเจนและทรงคุณค่า
การพัฒนาของครูเพื่อเป็นบุคคลเรียนรู้และร่วมกับสมาชิก PLC พัฒนาซึ่งกันและกัน ด้วยการเรียนู้ร่วมกันผ่านการปฏิบัติ คือ มรรควิธีแห่งชีวิตที่มีความสุข ที่ท่านจะสัมผัสได้ด้วยตนเองเมื่อท่านลงมือทำ
:explode:มุ่งผลลัพธ์ไม่ใช่แผนยุทธศาสตร์
ไม่หมกมุ่นอยู่กับแผนยุทธศาสตร์ หรือมุ่งสนองแผนยุทธศาสตร์ของโรงเรียนและหรือเขตการศึกษาจนหมดแรง ไปไม่ถึง “ของจริง” หรือเป้าหมายที่แท้จริง คือ ผลการเรียนของนักเรียน
การมีแผนยุทธศาสตร์ที่ดี
ไม่ได้นำไปสู่ผลลัพธ์ (ผลการเรียนของนักเรียน) ที่ดี
Keep It Simple and Stupid อย่าหลงตั้งเป้าเพื่อแสดงภูมิปัญญาที่ยอกย้อนเข้าใจยาก
:explode:การประยุกต์ใช้ PLC
"ผู้บริหาร"มีบทบาทในการประยุกต์ใช้ PCL
:explode:พลังข้อมูลสารสนเทศ
หัวใจอยู่ที่รายละเอียดคือ ต้องไม่หลงดูหยาบ ๆ ที่ผลการสอบในภาพรวมเท่านั้น ต้องดูที่แต่ละหมวด หรือที่ข้อสอบแต่ละข้อ ซึ่งจะมีข้อมูลที่ครูช่วยกันตีความแปลออกมาเป็นข้อความรู้ความเข้าใจและเป็นสารสนเทศสำหรับปรับปรุงวิธีจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในทันที
:explode:ชุมชนแห่งผู้นำ
เชื่อมโยงการเปลี่ยนแปลงเข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน อย่าจัดการการเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานของหลักการ ให้อยู่กับความเป็นจริง
เริ่มด้วยเหตุผลเชิงอุดมการณ์ (Why) แล้วเข้าสู่ปฏิบัติการจริงโดยเน้น How
ทำให้การกระทำกับคำพูดไปทางเดียวกัน และส่งเสริมกัน
แน่วแน่ที่ปณิธานและเป้าหมาย แต่ยืดหยุ่นที่วิธีการ
ใช้ภาวะผู้นำรวมหมู่
จงคาดหวังว่าจะมีความผิดพลาด จงเตรียมเรียนรู้จากความผิดพลาด
เรียนรู้จากการลงมือทำ
สร้างขวัญกำลังใจและความฮึกเหิม โดยการเฉลิมฉลองผลสำเร็จเล็ก ๆ ตามเป้าหมายรายทาง
ภาค ๕ เรื่องเล่าตามบริบท
:smiley:เรื่องเล่านอกกระลา
ทำให้ผู้เรียนเข้าใจต่อปรากฏการณ์ต่างๆ และได้เครื่องมือที่เป็นทักษะไปพร้อมกัน นักเรียนจะเป็นผู้ระบุปัญหาที่ประสบอยู่ แล้วแสวงหานวัตกรรมเพื่อลงมือในการแก้ปัญหานั้นด้วยตนเอง
:smiley:เรื่องเล่าครูที่เพลินกับการพัฒนา
lesson study + open approach
:smiley:เรื่องเล่าลำปลายมาศพัฒนา
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนาจัดการเรียนรู้แบบเน้น“เรียนความรู้มือหนึ่ง” ไม่ใช่เน้นเรียนแบบคัดลอกหรือแบบจดจำ “ความรู้มือสอง” จากครูหรือตำรา
:smiley:เรื่องเล่า รร.เพลินพัฒนา
การพัฒนาครูต้องมีนวัตกรรมที่ชัดเจน Lesson Study และOpen Approach เป็นกระบวนการที่ช่วยให้ครูได้เรียนรู้ตลอดชีวิตและสร้างให้ผู้เรียนมีความสามารถที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต
:smiley:เรื่องเล่าครูฝรั่ง
หัวใจของบรรยากาศและกติกาในชั้นเรียน คือ ความเคารพซึ่งกันและกัน
Teaching Outside the Box : How to
Grab Your Students by Their Brains
ภาค ๓ จิตวิทยาการเรียนรู้สำหรับครูเพื่อศิษย์
:no_entry:ฝึกฝนจนเหมือนตัวจริง
กลไก ๑ เพิ่มต้นทุนความรู้จัดระบบพร้อมใช้และตรงตามสถานการณ์
กลไก ๒ ใช้พื้นที่ความจำที่มีจำกัดในการคิดได้มากและซับซ้อนขึ้น
กลไก ๓ คิดลึก ตีความหาความหมาย
กลไก ๔ กำลังเจอปัญหาอะไรอยู่ตั้งสมมติฐานแล้วแก้ปัญหาไปในตัว
:no_entry:สอนให้เหมาะต่อความแตกต่างของศิษย์
"ศิษย์มีความแตกต่างกัน หลากหลายด้านมากเราต้องปรับการสอนให้เหมาะต่อความแตกต่างนั้น (ศ.วิลลิงแฮม)
:no_entry:ความเข้าใจคือความจำแลงสู่การฝึกตนฝนปัญญา
เตรียมความพร้อมให้เข้าใจระดับลึก โดยการเล่นเกมดีที่สุด
:no_entry:ฝึกฝนตนเอง
มีเป้าหมายการเรียนรู้อย่างลึกทั้งครูและศิษย์
กำจัดศัตรูตัวร้ายคือความเคยชิน
มีความรู้เชิงสาระเพราะจะทำให้นักเรียนเรียนรู้ได้ดีกว่า
จัดกลุ่มการเรียนรู้ของเพื่อนครู
สังเกตและรู้จักตัวตนที่แท้จริงของนักเรียน
:no_entry:เพราะคิดจึงจำ
ความจำเป็นผลของการคิดใช้โครงสร้างของเรื่องในการออกแบบให้นักเรียนคิดตรงตามความหมายที่ให้เรียนรู้
:no_entry:เปลี่ยนมุมความเชื่อเรื่องการเรียนรู้
ศึกษาความรู้หรือ ท.ด้านวิทย์ว่าด้วยการเรียนรู้
ห้องเรียนไม่ได้เป็นเพียงพื้นที่ทางปัญญา แต่ยังเป็นพื้นที่ทางอารมณ์ สังคม พื้นที่สำหรับแรงบันดาลใจ
:no_entry:ความคิดความรู้เกื้อกูลกัน
ความจำ+ความรู้มาก=คิดได้ดี เกิดทักษะการคิดที่กว้างขวาง
:no_entry: สมดุลระหว่างง่ายกับยาก
ครู=นักออกแบบโจทย์การเรียนรู้ให้ศิษย์ฝึกคิดจากง่ายไปยาก ให้ศิษย์ได้มีความสุขความพึงพอใจจากการทำโจทย์สำเร็จ
:no_entry:ช่วยศิษย์ที่เรียนอ่อน
เอาใจใส่ให้กำลังใจ
ฝึกฝน + อดทน ผู้ปกครอง+ครูเป็นโค้ช
ให้คำชื่นชม
แสดงความเชื่อในตัวศิษย์สามารถเรียนรู้ได้ด้วยความเพียร