Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บัญชียาตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข - Coggle Diagram
บัญชียาตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
แนวคิดนการจัดทำบัญชียาหลักแห่งชาติ
หลักการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก
ยาหลัก (ยาจำเป็น) ตอบสนองความต้องการด้านการดูแลสุขภาพที่สำคัญของประชาชนของประเทศ
มีประสิทธิภาพ คามลอดภัย และความคุ้มค่าของราคา
หลักการการใช้ยามีความหยุ่น และปรับไ้ด้กับหลายๆสถานการณ์
เภสัชตำรับโรงพยาบาล
เภสัชตำรับโรงพยาบาล ต่อมาพัฒนาเป็น เภสัชตำรับกระทรวง สาธารณสุข พ.ศ.2515 เพื่อเป็นแม่แบบนการจัดหาและคัดเลือกยาของโรงพยาบาล
บัญชียากระทรวงสาธารณสุข
ได้ประกาศใช้ นโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ.2524 และจัดทำบัญชียาแห่งชาติ ฉบับแรก เรียกว่า บัญชียาจำเป็นแห่งชาติ พ.ศ.2524 และมีการปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ
สาเหตุที่ต้องมีบัญชียาหลัก และระเบียบพัสดุในการจัดซื้อยา
มีการใช้ยาเกินความจำเป็น
ความเป็นมา บัญชียาหลักแห่งชาติ
ลดค่าใช้จ่ายสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและลูกจ้าง
มีสิทธิเบิกค่ายาได้เฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ปรัชญาและหลักการการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
การค้นพบและวิจัยพัฒนายาใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบสุขภาพที่สำคัญ
มุ่งหวังให้มีการสร้างเสริมระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
สำหรับเศรษฐกิจพอเพียง มี3 คุณลักษณะ และ2เงื่อนไข
1.ความพอประมาณ
2.ความมีเหตุผล
3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
4.มีความรู้
5.มีคุณธรรม
หลักเกณฑ์เบื้องต้นแพทย์สามารถใช้ยาให้เกิดความคุ้มค่าได้โดยง่าย
ด้วยการใช้ยากรอบบัญชียาหลัก แห่งชาติ โดยใช้ให้สอดคล้องกับข้อบ่งชี้ และใช้อย่างเป็นขั้นตอน
หลีกเลี่ยงการใช้ยาในบัญชี ค.และง. โดยควรส่งต่อให้กับผู้เชี่ยวชาญ เป็นผู้พิจารณา
แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกยาในบัญชียาหลัก
ยาต้องมีข้อบ่งใช้ที่ชัดเจน ในการสร้างเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา
ยาต้องมีข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้อง เชื่อถือได้
ยาต้องมีทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย
ยาที่มีการผลิตในประเทศ
ตำรับยาควรเป็นยาเดี่ยว หากจำเป็นต้องเป็นยาผสม ต้องมีข้อมูลที่เชื่อถือได้
กระบวนการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ความโปร่งใสในกระบวนการคัดเลือกยา
การคัดเลือกยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการแพทย์
ระบบการพิจารณ
การจัดทำบัญชียาหลักแห่งชาติ
ข้อมูลต้นทุนประสิทธิภาพเปรียบเทียบ ระหว่างยาในกลุ่มเดียวกัน และต้นทุกผลได้ขอยาระหว่างกลุ่มสำหรับรคเดียวกัน
บัญชีอ้างอิงของสวัสดิการรักษาพยาบาลต่างๆ ได้แก่สวัสวิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
ผลกระทบทางการเงิน จากการบริโภคยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ และผลตอบแทนสุขภาพที่พึงได้รับ
เสนอยานำเข้าบัญชียาหลัก
เหตุผลในการตัดยาออกจากบัญชียาหลัก
ปรับประเภทบัญชียาและเงื่อนไขการสั่งใช้ยา
รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
ซึ่งประกอบด้วยบัญชีย่อย 5 บัญชี ได้แก่ บัญชีก บัญชีข บัญชีค บัญชีง และบัญชีจ
บัญชียาจากสมุนไพร
บัญชีก
รายการยามาตรฐานที่ใช้ในการป้องกัน มีหลักฐานชัดเจน
บัญชีข
รายการยาที่ใช้สำหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชีก ไม่ได้ หรือไม่ได้ผล
บัญชีค
รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทาง โดยผู้ชำนาญ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการของสถานพยาบาลนั้นๆ
บัญชีง
รายการยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้
บัญชีจ
รายการยาสำหรับโครงการพิเศษของกระทรวง โดยมีหน่วยงานรัฐเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
เภสัชตำรับโรงพยาบาล
รายการยาที่โรงพยาบาลสามารถผลิตขึ้นใช้ภายในโรงพยาบาลตามเภสัชตำรับของโรงพยาบาล ที่เป็นรายการยาตามที่ระบุในภาคผนวก
บัญชียาจากสมุนไพร
รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทย หรือยาแผนโบราณ และยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งมีตัวยาในสูตรตำรับ
การแสดงชื่อยาสามัญทางยา และรูปแบบยา
ส่วนใหญ่แสดงชื่อสามัญทางยาจะ แสดงด้วยชื่อ Internation nonproprietary name
รูปแบบยาที่แสดงในบัญชี คือรูปแบบยาทั่วไป ที่มิได้มีการพัฒนารูปแบบการบริหารยาเป็นพิเศษ
คำจำกัดความรูปแบบยาที่สำคัญ
tab/cap ยาเม็ด หรือแคปซูล สำหรับกินทั่วไป
sr tab /cap ยาเม็ดหรือแคปซูลสำหรับรับประทานที่เป็นยาออกฤทธินานทุกชนิด
Ec tab/cap ยาเม็ดหรือแคปซูล สำหรับรับประทานที่ออกแบบให้ตัวยาละลายในลำไส้
dry syrup ผงแห้งของส่วนผสมตัวยาหรือสารเคมี ที่ต้องเติมน้ำกระสายยาที่เหมาะสมก่อนใช้จึงจะได้ยาน้ำเชื่อมตามต้องการ
syrup ยาน้ำใสหรือยาน้ำแขวนตะกอนที่มีส่วนประกอบของสารเพิ่มความหวานเพื่อกลบรสขมของยา
eye drop ยาเตรียมปราศจากเชื้อสำหรับหยอดตา
sterile solution ยาปราศจากเชื้อในรูปแบบของสารละลายสำหรับฉีด
ข้อมูลสำคัญอื่นๆ ของรายการยา
คำเตือน และข้อควรระวัง ระบุในกรณีซึ่งมีผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่มีความสำคัญ
โดยมีหลักฐานยืนยันชัดเจน
PTC ความสำคัญในการมองภาพรวม
มีหน้าที่พิจารณายาต่างๆ โดยอาศัยหลักเกณฑ์ คุณภาพ ความปลอดภัย ประสิทธิศักย์หรือประสิทธิผล และราคา
ในการจัดหายา จะต้องคำนึงถึง
ต้องมีการกำกับดูแลระบบการจัดการยาในภาพรวม
ต้องมีการกำกับดูแลระบบการจัดการยาในภาพรวม