Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บัญชียาตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข - Coggle Diagram
บัญชียาตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
บัญชียาหลักแห่งชาติ
ความเป็นมา
เพื่อลดค่าใช้จ่ายสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและ
ลูกจ้างสิทธิเบิกค่ายาได้เฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
สาเหตุ
มีการใช้ยาเกินความจำเป็น
การคัดเลือกยาที่มีความเหมาะสมบรรจุไว้ในบัญชียาหลัก
ปรัชญาและหลักการพัฒนา
การเปลี่ยนแปลงของระบบสุขภาพ
การสร้างเสริมระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
การค้นพบและวิจัยพัฒนายาใหม่
วัตถุประสงค์
ใช้หลักฐานวิชาการ
ปรับปรุงเป็นระยะ
ยาที่มีคุณภาพ ปลอดภัย มีประสิทธิผล เกิดภราดรภาพ และความเสมอภาพ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ประหยัดและคุ้มค่า
ใช้เป็นแนวทางในการใช้ยาอย่างเป็นขั้นตอน
มาตรฐานขั้นต่ำ
ยาหลัก(ยาจำเป็น, essential drug)
ตอบสนองความต้องการด้านการดูแลสุขภาพของประชาชน
มีประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และความคุ้มค่าของราคา
แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกยา
ข้อบ่งใช้ที่ชัดเจน การผลิตในประเทศ
ข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้องเชื่่อถือได้
มีทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย
ตำรับยาควรเป็นยาเดี่ยว หากจำเป็นต้องเป็นยาผสม ต้องมีข้อมูลที่เชื่อถือ
แนวคิดในการจัดทำ
เภสัชตำรับโรงพยาบาล
บัญชียากระทรวงสาธารณสุข
หลักการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก
กระบวนการคัดเลือกยา
ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการแพทย์
คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
ความโปร่งใส่
ปัญหาและอุปสรรค
แพทย์ในโรงพยาบาลบางแห่งไม่สนใจว่ายาที่ใช้อยู่ในบัญชียาหลัก
ยาที่จำเป็นและใช้บ่อยไม่อยู่ในบัญชียาหลัก
โรงพยาบาลในแต่ละระดับมีความแตกต่างกัน
รายการบัญชียาหลัก
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
บัญชี ข
ใช้สำหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชี กไม่ได้
บัญชี ค
ใช้ในโรคเฉพาะทางโดยผู้ชำนาญ
ถ้าใช้ยากลุ่มนี้ไม่ถูกต้อง อาจเกิดพิษหรือเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย
เป็นยาที่มีแนวโน้มในการใช้ไม่ตรงตามข้อบ่งชี้ หรือไม่คุ้มค่า
บัญชี ก
รายการยามาตรฐาน/มีหลักฐานชัดเจน/เลือกใช้เป็นอันดับแรก
บัญชี ง
มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้
ใช้ยาตามข้อบ่งใช้และเงื่อนไขที่กำหนด
วินิจฉัยและสั่งใช้ยา โดยผู้ชานาญเฉพาะโรค
มีระบบกำกับประเมินและตรวจสอบการใช้ยา
บัญชี จ
ยาสำหรับโครงการพิเศษของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
บัญชียาจากสมุนไพร
เภสัชตำรับโรงพยาบาล
ยาที่โรงพยาบาลสามารถผลิตขึ้นใช้
ภายในโรงพยาบาลตามเภสัชตำรับของโรงพยาบาล
บัญชียาจากสมุนไพร
ยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ และยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งมีตัวยาในสูตรตำรับ
การแสดงชื่อสามัญทางยา(generic name) และรูปแบบยา (dosage form)
ในกรณียาชนิดนั้นไม่มีชื่อ INN ให้ใช้ชื่ออื่นแทน เช่น British Approved
ส่วนใหญ่ชื่อสามัญทางยาจะแสดงด้วยชื่อ International Nonproprietary Name (INN)
ยาที่มีสารออกฤทธิ์ 1 ชนิด
คำจำกัดความรูปแบบยาที่สำคัญ
tab / cap หมายถึง ยาเม็ด หรือแคปซูล
SR tab / cap
EC tab / cap
dry syrup หมายถึง ผงแห้งของส่วนผสมตัวยาหรือสารเคมี
syrup หมายถึง ยาน้ำใสหรือยาน้ำแขวนตะกอน
eye drop หมายถึง ยาเตรียมปราศจากเชื้อสำหรับหยอดตา
sterile solution หมายถึง ยาปราศจากเชื้อในรูปแบบของสารละลาย สำหรับฉีด Iv
ข้อกำหนดเฉพาะของรายการยา
ขนาดบรรจุ ยาบางรายการที่ระบุขนาดบรรจุไว้
ความแรง ยาบางรายการที่ระบุความแรงของสารออกฤทธิ์ไว้
PTC
ความสำคัญ
องค์การอนามัยโลก: PTC เป็นเครื่องมือหนึ่งที่สำคัญในการทำให้เกิดการใช้ยาที่เหมาะสม
การจัดการด้านยาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการกำหนดนโยบาย และแนวทางการปฏิบัติจากคณะกรรมการ
บทบาทที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการด้านยา
รับผิดชอบดูแลกำกับระบบยาในโรงพยาบาล
ในการจัดหายา จะต้องคำนึงถึงความต้องการของแพทย์ นโยบายของโรงพยาบาล และงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
บทบาทด้านการจัดการตำรับยา
สัดส่วนยาในบัญชียาหลักแห่งชาติต่อยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ,นโยบายยา ชื่อสามัญ ชื่อการค้า, นโยบายด้านการบริหารเวชภัณฑ์ในสถานพยาบาลที่สอดคล้องกับบริบทในการจัดซื้อจัดหา
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510
ตามวิธีใช้งาน/"ยาใช้ภายนอก" และ "ยาใช้เฉพาะที่
ตามกระบวนการแปรรูป/เภสัชเคมีภัณฑ์" "เภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป" "ยาสมุนไพร/ยาบรรจุเสร็จ
ตามศาสตร์การรักษา: ยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณ