Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนะนำพื้นฐานการทำงานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์, 6221608040 นางสาวนงนุช…
แนะนำพื้นฐานการทำงานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ความหมายระบบปฏิบัติการ
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
จัดสรรทรพยากรที่ใช้ร่วมกัน
การจัดการทรัพยากรทั้งหมดให้สามารถใช้ร่วมกันได้ มีหน้าที่
ในการทำให้เกิดความยุติธรรมต่อการเข้าใช้ทรัพยากรและ
ขจัดปัญหาหากมีข้อผิดพลาด
ควบคุมการทำงานของ
โปรแกรมต่างๆ
เพื่อป้องกันการผิดพลาดของโปรแกรมและการใช้งานที่ไม่
เหมาะสมในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะมีโปรแกรมย่อยควบคุม
การทำงานอุปกรณ์ต่างๆโดยเฉพาะ
เป็นโปรแกรมที่ทำงานอยู่ตลอดเวลาบนเครื่องคอมพิวเตอร์
เคอร์เนลเป็นโปรแกรมแก่นสำคัญที่คอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ
ต่อกับฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ โดยภายในมีโมดูลทำหน้าที่เป็นตัวอกลาง
ติดต่อกันระหว่างแอปพลิเคชั่นกับฮาร์ดแวร์ทั้งหมดทั้งภายนอกและ
ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
กลุ่มโปรแกรมที่ได้รับการจัดระเบียบเพื่อทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบ และสนับสนุนการทำงานในส่วนของฮาร์ดแวร์ โดยใช้เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์และผู้ใช้
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
Hardware
หน่วยรับข้อมูล
ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์ แล้วส่งไปเก็บไว้ใน
หน่วยความจำเพื่อให้หน่วยประมวลผลกลางประมวลผล
หน่วยแสดงผล
ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของหน่วยประมวลผล
กลางที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำ โดยรูปแบบขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้
หน่วยประมวลผลกลาง
หรือ CPU เรียกอีกชื่อว่า Processor ทำหน้าที่ประมวลผลคำสั่งและ
ควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ
ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่รับเข้ามาเพื่อส่งต่อไปยัง CPU
หน่วยความจำหลัก
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆในโปรแกรม
เพื่อรอประมวลผล
หน่วยความจำสำรอง
เป็นอุปกรณ์ที่สามารถเก็บข้อมูลและโปรแกรมไว้ได้แม้ว่าจะปิดคอมพิวเตอร์ไปแล้ว
Software
ระบบปฏิบัติการ
ทำหน้าที่ช่วยให้แอปพลิเคชั่นโปรแกรมต่างๆสามารถติดต่อ
กับฮาร์ดแวร์ของเครื่องได้ โดยซอร์ฟแวร์ของระบบเป็น
ซอร์ฟแวร์ที่ทำงานอยู่เบื้องหลัง
โปรแกรมประยุกต์
คือซอร์ฟแวร์หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะตามที่ต้องการ มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา
Users
ระบบคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทำงานได้หากขาดองค์ประกอบทางด้านบุคลากรที่จะเป็นผู้จัดการ ควบคุมและคอยแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์
ข้อมูลสารสนเทศ
ข้อมูล
ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยจะใช้ตัวเลข ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์แทนความหมายสิ่งเหล่านั้น
สารสนเทศ
ข้อสรุปต่างๆที่ได้จากการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อนำ
ข้อสรุปไปใช้งานหรืออ้างอิง
สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์
ระบบหน่วยประมวลผลเดี่ยว
โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการประมวลผลและทำงานตามขั้นตอนของโปรแกรมจะใช้เพียง 1 CPU ในการทำงาน
ระบบหลายหน่วยประมวลผล
ประมวลผลแบบสมมาตร
การประมวลผลที่ใช้ cpu มากกว่า 1 ตัว โดยแต่ละ cpu ทำงานเท่ากัน ไม่มีตัวไหนรับโหลดหรือรับทำงานมากกว่าตัวอื่น
ประมวลผลแบบไม่สมมาตร
การประมวลผลโดยใช้ cpu มากกว่า 1 ตัว โดยมี cpu ตัวหนึ่งเป็นตัวหลัก ทำหน้าที่จัดสรรทรัยากรและแบ่งงานให้cpuตัวอื่นๆ
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ
ผู้ใช้ต้องเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงานทั้งหมด
จึงต้องมี operator รวบรวมงานและเตรียมระบบสำหรับ
ผู้ใช้งาน
ระบบกลุ่มอย่างง่าย
การทำงานงานใช้โยชน์ของหน่วยประมวลผลต่ำมาก จึงแก้ไขปัญหาด้วยการปรับอัตราในการทำงานโดยให้อุปกรณ์รับส่งข้อมูลทำงานไปพร้อมกับการประมวลผลของcpu
ระบบสพูลลิ่ง
มีการรับส่งข้อมูลโดยการถ่ายข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับส่ง
ข้อมูลที่มีความเร็วสูงกว่า ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงาน
ของ cpu สูงขึ้นเล็กน้อยแต่การทำงานของโปรแกรมต้อง
ผ่านขั้นตอนมากขึ้น
ระบบรองรับการทำงานหลายโปรแกรม
ทำให้การใช้งานทรัพยากรของระบบโดยเฉพาะ cpu ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบแบ่งส่วนเวลา
ช่วยให้ระบบสามารถให้บริการผู้ใช้ได้หลายคนพร้อมๆกัน
โดยผู้ใช้แต่ละคนจะสลับกันเข้าไปใช้งาน cpu ทำให้
ผู้ใช้รู้สึกเหมือนเป็นเจ้าของระบบทั้งหมด
ระบบโต้ตอบฉับพลัน
เป็นระบบที่ใช้งานเฉพาะเจาะจง โดยคำนึงถึงอัตราเวลาตอบสนองเป็นสำคัญ
Hard Real-Time System
กำหนดเวลาแน่นอน หากทำงานไม่เสร็จตามเวลาที่กำหนดจะเกิดปัญหาร้ายแรง
Soft Real-Time System
กำหนดเวลาไว้แน่นนอน แต่ถ้าทำงานไม่เสร็จ
ภายในเวลาที่กำหนดจะไม่เกิดปัญหาร้ายแรง
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การดำเนินการของระบบคอมพิวเตอร์
ตัวอุปกรณ์อินพุตเอาท์พุต และcpuสามารถถูกดำเนินการ
พร้อมกันได้ โดยตัวควบคุมอุปกรณ์แต่ละตัวเป็นตัวควบคุม
เฉพาะประเภทของอุปกรณ์นั้นๆ
โครงสร้างหน่วยเก็บข้อมูล
เทปแม่เหล็ก
อ่านข้อมูลตามลำดับก่อนหลังตามที่บันทึกไว้ นิยมใช้สำรองข้อมูลเนื่องจากอ่านข้อมูลได้ช้า
จานแม่เหล็ก
สามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก มีคุณสมบัติเข้าถึงข้อมูลโดยตรง เป็นสื่อที่ใช้หลักการอ่านข้อมูลแบบสู่ม
Optical Disk
ใช้เทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ สามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก
Solid-State Disk(SSD)
ใช้ชิปหน่วยความจำเก็บข้อมูลเหมือนแฟรชไดรฟ์ มีส่วนประกอบสำคัญคือชิปหน่วยความจำและชิปคอนโทรเลอร์
หน่วยความจำแคช
เป็นหน่วยคงามจำแบบ Random access ซึ่งcpuสามารถเข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่าหน่วยความจำแบบปกติมีการอธิบายว่าเป็นหน่วยความจำระดับบที่ใกล้และเข้าถึงได้มากกว่า cpu
Register
หน่วยเก็บข้อมูลขนาดจิ๋ว เป็นส่วนหนึ่งของcpu ใช้เก็บข้อมูลชั่วคราวสำหรับการส่งผ่านผลลัพธ์ของคำสั่งหนึ่งไปยังคำสั่งถัดไปของcpu
โครงสร้างอินพุตและเอาต์พุต
การรับ-ส่งข้อมูลแบบสัมพัทธ์
การรับส่งจะทำได้อีกครั้งหลังจากเสร็จการรับส่ง
ข้อมูลเท่านั้น
การรับส่งข้อมูลแบบไม่สัมพัทธ์
สามารถทำได้โดยไม่ต้องรอให้การรับส่งข้อมูลเสร็จ
การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง(DMA)
จะอาศัยแชนแนล โดยแชแนลเป็นฮาร์ดแวร์ที่ติดตั้งในตัวควบคุมอุปกรณ์ ทำหน้าที่แทนcpu เกี่ยวกับการรับส่งข้อมูล
6221608040 นางสาวนงนุช วายลม เลขที่ 48 หมู่ 700