Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บัญชียาตามระเบียบกระทรงสาธารณสุข - Coggle Diagram
บัญชียาตามระเบียบกระทรงสาธารณสุข
บัญชียาหลักแห่งชาติ
ควบคุมยาที่จำเป็นในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
นำไปใช้เป็นกรอบอ้างอิงสิทธิประโยชน์ด้านสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการแห่งชาติด้านยา
กรอบอ้างอิงในระเบียบ หลักเกณ์เกี่ยวกับการบริหารเวชภัณฑ์
คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
แนวคิดในการจัดทำบัญชียาหลักแห่งชาติ
2.เภสัชตำรับโรงพยาบาล
กระทรงสาธารณสุขคำนึงถึงความประหยัด/สะดวกในการบริหารเวชภัณฑ์
เภสัชตำรับโรงพยาบาล-พัฒนาเป็น-เภสัชตำรับกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2512
3.บัญชียากระทรวงสาธารณสุขสู่บัญชียาหลักแห่งชาติไทย
นโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ. 2524-บัญชียาแห่งชาติฉบับแรก-บัญชียาจำเป็นแห่งชาติ พ.ศ. 2524
ยึดหลักการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศควบคู่กับองค์กรอนามัยโลก"ยาหลัก"
สาเหตุที่ต้องมีบัญชียาหลักและระเบียบพัสดุในการจัดซื้อยา
มีการใช้ยาเกินความจำเป็น
กาาคัดเลือกยาที่มีความเหมาะสมบรรจุไว้ในบัญชียาหลัก
ความเป็นมา:บัญชียาหลักแห่งชาติ
คณะกรรมแห่งชาติด้านยา-ปรับปรุงแก้ไขปัญหาบัญชียาหลัก
ลดค่าใช้จ่ายสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและลูกจ้าง/สิทธิเบิกค่ายาได้เฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
การปรับปรุงบัญชียาหลักแห่งชาติ
ขยายให้ครอบคลุมตัวยาอย่างกว้างขวาง
บัญชียาหลักแห่งชาติในปัจจุบันจึงมีลักษณะเป็นบัญชียาแห่งชาติ
ปรัชญาและหลักการการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
การค้นพบและวิจัยพัฒนายาใหม่
การเปลี่ยนแปลงของระบบสุขภาพ
การสร้างเสริมระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สำหรับ เศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ-ความพอดี
ความมีเหตุผล
การมีภูมิคุ้มกัน
มีความรู้
มีคุณธรรม
วัตถุประสงค์การพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
ให้การพิจารณาคัดเลือกยา-หลักฐานวิชาการ
ให้บัญชียาหลักได้รับการปรับปรุงเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
ยาที่มีคุณภาพปลอดภัย มีประสิทธิผล เกิดภราดรภาพ และความเสมอภาพ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ/ประหยัดและคุ้มค่า/ผู้ป่วยต่อผู้สั่งใช้ยา
1.หลักการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก
ยาสำเร็จรูปจำหน่ายท้องตลาดจำนวนมาก
เป็นภาระของประเทศในการพัฒนาระบบยาด้านต่างๆ
ทรัพยากรจำกัด
องค์กรอนามัยโลกนำยาหลักมาใช้ครั้งแรก พ.ศ 2520
ยาหลัก/ยาจำเป็น(essential drug)
ตอบสนองด้านการดูแลสุขภาพ
มีประสิทธิภาพ/ปลอดภัย/คุ้มค่าของราคา
ใช้ตามบริบทของสาธารณสุขของประเทศตลอดเวลา
ปริมาณเพียงพอ/มีคุณภาพ
มีความยืดหยุ่น/ปรับได้หลายๆสถานการณ์
เป็นความรับผิดชอบของผู้บริหารประเทศ
แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจรณาคัดเลือกยาในบัญชียาหลัก
ยาต้องมีทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย
ยาที่มีการผลิตในประเทศ
ยาต้องมีข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้อง เชื่อถือได้และเป็นปัจจุบัน
ตำรับยาควรเป็นยาเดี่ยว หากจำเป็นต้องเป็นยาผสม ต้องมีข้อมูลที่เชื่อถือ
ยาต้องมีข้อบ่งใช้ที่ชัดเจน
กระบวนการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
1.ความโปร่งใสในกระบวนการคัดเลือกยา
2.การคัดเลือกยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการแพทย์
ละเอียดครบถ้วนเพียงพอ
ข้อมูลชัดเจนและตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
มีหลักฐาน/เหตุผล/ปัจจุบัน
ใช้คะแนนและดัชนีในการเปลียบเทียบยา
ใช้ผู้เชี่ยวชาญ ที่สามารถนำปัจจัยอื่นๆที่นำมาคำนวณ
ยารักษามะเร็งและโรคทางโลหิตวิทยา
ระบบการพิจรณา 3ขั้นตอน
(ก)คณะทำงานคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ(มุมมองของผู้ใช้ยา)
(ข)คณะทำงานประสานผลการพิจรณายาในบัญชียาหลัก(มุมมองด้านสังคม)
คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
การแบ่งหมวดหมู่ยาเป็นบัญชีย่อย
ปัจจัยด้านสถานบริการสาธารณสุข
ปัจจัยด้านผู้สั่งใช้ยา
ปัจจัยด้านยา
กลวิธีและขั้นตอนในการปรับปรุงบัญชียาหลักแห่งชาติ
รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ ประกอบด้วย
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
บัญชียาจากสมุนไพร
บัญชี ก-ยามาตรฐาน/หลักฐานชัดเจน/เลือกใช้เป็นอันดับแรก
บัญชี ข-รายการที่ใช้สาหรับข้อบ่งใช้หรือโรคบางชนิดที่ใช้ยาในบัญชี ข ไม่ได้
บัญชี ค-รายการยาที่ต้องใช้ในโรคเฉพาะทางโดยผู้ชำนาญ
บัญชี ง-รายการยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ แต่มีความเหมาะสมที่จะใช้เพียงบางข้อบ่งใช้
บัญชี จ-รายการยาสาหรับโครงการพิเศษของกระทรวง
เภสัชตำรับโรงพยาบาล-รายการยาที่โรงพยาบาลสามารถผลิตขึ้นใช้ภายในโรงพยาบาลตามเภสัชตำหรับโรงพยาบาล
บัญชียาจากสมุนไพร-รายการยาจากสมุนไพรที่เป็นยาแผนไทยหรือยาแผนฏโบราณ
คำจำกัดความรูปแบบยาที่สำคัญ
SR rab/cap-ยาเม็ด
EC tab/cap-ตัวยาละลายในลำไส้
dry syrup-ผงแห้งของส่วนผสมตัวยา
syrup-ยาน้ำใสหรือยาน้ำแขวนตะกอน
tab/cap-ยาเม็ด
eye drop-ยาเตรียมปราศจากเชื้อสำหรับหยดตา
sterile solution-ยาปราศจากเชื้อในรูปสารละลาย
ข้อกำหนดเฉพาะของรายการยาที่สำคัญ
ขนาดบรรจุ
เงื่อนไข
ความแรง
ข้อมูลสำคัญอื่นๆ ของรายการยา
PTC ความสำคัญในการมองภาพรวม
เป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่มีประสิทธิภาพ
ลดความเสี่ยงอันตราย
องค์การอนามัยโลก
การจัดการด้านยาอย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาท PTC
ความต้องการของแพทย์
งบประมาณที่ได้จัดสาร
รับผิดชอบดูแลกำกับระบบยาโรงพยาบาล
พระราชบัญญัติยา พ.ศ 2510
ตามศาสตร์การรักษา-ยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณ
ตามวิธีใช้งาน
ตามกระบวนการแปรรูป
ตามระดับการควบคุมการขาย