Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 การติดตาย - Coggle Diagram
บทที่5 การติดตาย
-
-
การกำหนด
ทรัพยากร
ด้วยกราฟ
การติดตายสามารถอธิบายได้ด้วยกราฟอย่างง่าย ๆ เรียกว่า System Resource-Allocation Graph กราฟนี้จะประกอบไปด้วยกลุ่มของ V (Vertices) และกลุ่มของ E (Edge)
-
การกำหนดทรัพยากรด้วยกราฟ
P1 R1 P2 R3 P3
จากลักษณะของกราฟทำให้ได้การทำงานดังนี้
P1 > R1 > P2,
P1 >R1 > P3 > R2>P1,
P1 > R1 > P3 >R2 > P4
รูปแบบโครงสร้าง
1. การร้องขอ (Request)
-
กรณีที่ทรัพยากรว่าง โพรเซสจะได้รับการจัดสรรทรัพยากรทันทีแต่ถ้าทรัพยากรไม่ว่าง (ถูกใช้งานโดยโพรเซสอื่น) โพรเซสที่ร้องขอจะต้องรอจนกว่าจะได้รับทรัพยากรที่ต้องการ
-
3. การคืน (Release)
โพรเซสต้องคืนทรัพยากรที่ใช้เสร็จแล้วกลับสู่ระบบ เพื่อเปิดโอกาสให้โพรเซสอื่นที่ต้องการใช้ทรัพยากรนั้นได้รับการจัดสรรทรัพยากรต่อไป
-
การแก้ปัญหาส่วนวิกฤติ
การแสดงโพรเซสสองโพรเซสเกิดวงจรอับ
Deadlock
บางครั้งเมื่อโพรเซสต้องการใช้ทรัพยากรแต่ทรัพยากรที่ โพรเซสต้องการใช้ไม่ว่าง เนื่องจากโพรเซสอื่นกำลังใช้งานอยู่ ทำให้โพรเซสนั้น ๆ ต้องรอคอยและเป็นการรอคอยที่ไม่มีที่สิ้นสุดเหตุการณ์นี้คือ การติดตาย
-
-
ตัวอย่างของการติดตาย
Ex แสดงภาพของเหตุการณ์ที่มีรถยนต์ 4 คันแล่นมาจากเส้นทาง 4 เส้นที่แตกต่างกัน เข้ามาสู่สี่แยกพร้อมกันณ เวลาเดียวกัน เราสามารถเปรียบเส้นทางทั้งสี่เส้นเป็นทรัพยากรที่ระบบจะต้องควบคุม และถ้ารถยนต์ทั้งสี่ต้องการแล่นตรงไปยังเส้นทางที่อยู่ตรงข้าม
- รถยนต์ที่วิ่งไปทิศเหนือจะต้องใช้เส้นทางที่ 1 และ 2
- รถยนต์ที่วิ่งไปทิศตะวันตกจะต้องใช้เส้นทางที่ 2 และ 3
- รถยนต์ที่วิ่งไปทิศใต้จะต้องใช้เส้นทางที่ 3 และ 4
- รถยนต์ที่วิ่งไปทิศตะวันออกจะต้องใช้เส้นทางที่ 4 และ 1