Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CASE 3 - Coggle Diagram
CASE 3
คำแนะนำในการปฏิบัติตัว
-
อะไรบ้างที่แม่ควรเลี่ยง?
ควรเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟหรือชา และแอลกอฮอล์ คุณแม่ที่กำลังให้นมลูกควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ และอย่าลืมว่าคุณยังคงต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นวนละ 500 กิโลแคลอรีเช่นเดียวกับในขณะตั้งครรภ์ นอกจากนี้คุณควรสังเกตว่าเมื่อรับประทานอาหารบางอย่างแล้วจะมีผลต่อน้ำนมอย่างไร ถ้าเกิดความผิดปกติกับลูกคุณควรงดอาหารนั้นไปก่อน
-
-
-
การเจริญเติบโต
-
น้ําหนักทารกแรกเกิด: ปกติของทารกไทยประมาณ 2,500-3,900 กรัม ช่วง 3-5 วัน น้ําหนักตัวลดลงไม่เกินร้อยละ 5-10 ของน้ําหนักแรกคลอด (physiological weight loss) เนื่องจากการได้รับน้ําและปริมาณนม น้อยในสัปดาห์แรกประกอบกับการถ่ายขี้เทา (meconium) และปัสสาวะ น้ําหนักตัวของทารกมักจะกลับคืน มาเท่าเดิมเมื่อแรกเกิดภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากนั้นน้ําหนักจะเพิ่มข้ึน 20-30 กรัมต่อวัน
ความยาวของทารกแรกเกิด: มีความยาวประมาณ 45-50 เซนติเมตร เมื่อเปรียบเทียบร่างกายช่วงบน และช่วงล่าง (upper:lower segment ratio) คือ 1.7:1
เส้นรอบศีรษะ: ประมาณ 33-35.5 เซนติเมตร เส้นรอบศีรษะจะยาวกว่าเส้นรอบอกที่วัดผ่านราวนม (nipple line) ประมาณ 2-3 เซนติเมตร ขนาดกระหม่อมหน้า (anterior fontanel) ปกติเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนขนาด 2.5 - 4 เซนติเมตร โดยขนาดจะค่อยๆ ลดลง และปิดเมื่ออายุ 9-18 เดือน ส่วนกระหม่อมหลัง (posterior fontanel) ปกติจะเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาด 0.5-1 เซนติเมตร จะปิดเมื่ออายุประมาณ 4 เดือน
-
การรักษาท่ีได้รับ
วันที่ 9/6/64
-10% D / W rate 9 ml / hr : แสดงว่า วันที่ 9/6/64 เด็กชายไทย อายุ 4 วัน ได้รับพลังงานไม่เหมาะสม เนื่องจากแพทย์มีแผนการรักษาให้ NPO และให้สารน้ำ 10% D/W rate 9 ml/hr ทำให้ได้รับพลังงานจากสารน้ำ 86.4 kcal/day ซึ่งปกติเด็กชายไทย ควรได้รับพลังงาน 315.5 kcal/day
-
วันที่10/6/64
BF/นม N 15 cc * 8 Fds และ 10% D/W rate 7 ml/hr
: แสดงว่า วันที่ 10/6/64 เด็กชายไทย อายุ 4 วัน ได้รับพลังงานไม่เหมาะสม เนื่องจากเด็กชายไทยได้รับพลังงานจากนมและสารน้ำรวมกันได้ 147.2 kcal/day ซึ่งตามปกติเด็กชายไทย อายุ 4 วัน ควรได้รับพลังงาน 315.5 kcal/day
-
-
-
เด็กชายไทยอายุ 4 วัน Body weight 3,155 gms. หรือ 3.155 kg พลังงานที่เด็กชายควรได้รับใน 1 วัน: เด็กน้ำหนัก 10 kg แรกให้คูณ 100 kcal จะได้ 3.155 kg X 100 kcal = 315.5 kcal / day แสดงว่าเด็กชายไทยอายุ 4 วันควรได้รับพลังงานวันละ 315.5 kcal
สรุป เด็กชายไทย อายุ 4 ปีได้รับสารน้ำ 10 % D/W เหมาะสมกับโรคเนื่องจาก เป็นการให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อในทารกแรกเกิดและเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
การรักษา “MAS“
ระยะแรกในห้องคลอดเมื่อศีรษะทารกพ้นช่องคลอดต้องพยายามดูดขี้เทาและน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกให้มากที่สุดก่อนทารกเริ่มหายใจครั้งแรกเพื่อลดการสูดลักขี้เทา
[ถ้าทารกคลอดออกมาแล้วไม่หายใจหรือหายใจผิดปกติควรใส่ท่อหลอดลมคอใช้เครื่องดูดเสมหะต่อกับท่อหลอดลมคอแล้วค่อยๆเลื่อนท่อออกเมื่อดูดขี้เทาออก
อาการทารกยังไม่ดีขึ้นรีบให้ออกซิเจนและช่วยหายใจด้วยความดันบวกเมื่อทารกหายใจเองได้ดีและอาการคงที่แล้วใส่สายให้อาหารและดูดน้ำคร่ำจากกระเพาะอาหารให้หมดเพื่อป้องกันทารกอาเจียนและสำลักขี้เทา
-
-
ภาวะแทรกซ้อนของโรค
- ภาวะลมรั่วของปอด (Pulmonary air leaks) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยประมาณร้อยละ 10-20 และอาจพบสูงถึงร้อยละ 50 ในทารกที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจลักษณะลมรั่วที่บ่อย ได้แก่ Pneumothorax อย่างทันทีทันใดและเสียชีวิตได้
- ภาวะความดันเลือดในปอดสูง (Per-sistent pulmonary hypertension, PPHN) ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต
- โรคติดเชื้อ (infection) พบว่าขี้เทาช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
- โรคปอดเรื้อรัง (chronic lung disease) พบได้ไม่บ่อย มักพบในรายที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจแรงดันบวกระดับสูงเป็นเวลานาน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
- เกิดภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากมีภาวะ Meconium Aspiration Syndrome และระบบภูมิ
ต้านทานของร่างกายยังพัฒนาไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนับสนุน
-
O : ขณะคลอด พบ Thick meconium stained amniotic fluid ทำ direct suction 1 ครั้ง ได้ meconium เหนียวข้น 2 cc
-
-
-
-
-
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
-
-
- ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก aseptic technique เพื่อลดและป้องกันการติดเชื้อ
5.ติดตามและบันทึกผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น CBC , H/C เมื่อพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทันที
- ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทุก 4 ชั่วโมง
หรือตามสภาพทารก เช่น มีไข้ หนาวสั่น หอบเหนื่อย ซึมลง เป็นต้น
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
ทารกที่อยู่ในครรภ์มารดาเมื่อมีภาวะขาดออกซิเจน ร่างกายของทารกจะมีการปรับตัวเพื่อหาแหล่งของออกซิเจนมาใช้ เมื่อรับออกซิเจนจากสายสะดือไม่ได้ ทารกจะมีภาวะเครียดเป็นผลให้มีการคลายตัวของกล้ามเนื้อหูรูดลำไส้ของทารก ส่งผลให้ทารกมีการถ่ายขี้เทาปนในนำ้ครำ่มารดา เมื่อทารกคลอดและมีการสูดสำลักขี้เทาส่งผลให้ทางเดินหายใจของทารกเกิดการอุดตันเนื่องจากขี้เทามีลักษณะเหนียวจึงอาจอุดตันทางเดินหายใจในถุงลมปอด การอุดตันดังกล่าวส่งผลให้อากาศไม่สามารถผ่านเข้าถึงลมปอดหรือระบายออกไม่ได้ เกิดอันตรายรุนแรงคือ ภาวะถุงลมปอดแฟบและถุงลมโป่งพองบางส่วน ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด การอักเสบของเนื้อเยื่อปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบ ทารกจึงมีอาการหอบเหนื่อยหลังคลอด หากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจมากจะส่งผลให้ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
คำจำกัดความ “ภาวะ MAS“
ภาวะสูดสำลักขี้เทา (meconium aspiration syndrome: MAS) หมายถึง ภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด ส่งผลให้ทารกมีปัญหาหายใจลำบาก พบบ่อยในทารกเกิดครบกำหนดและทารกแรกเกิดเกินกำหนดที่มีภาวะขาดออกซิเจนขณะอยู่ในครรภ์มารดา