Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Analysis - Coggle Diagram
Case Analysis
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
-
ปวดฝีเย็บ
-
-
การพยาบาล
- แนะนํามารดาให้รักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และฝีเย็บ โดยล้างด้วยน้ำสบู่ซับให้แห้ง เปลี่ยนผ้าอนามัยเมื่อชุ่ม สังเกตความผิดปกติของแผลฝีเย็บ เพื่อป้องกันการตดเชื้อและทําให้แผลแห้งและหายเร็วขึ้น
- แนะนํามารดาให้พักผ่อนท่านอนตะแคงหรือท่านอนคว่ำหลีกเลี่ยงการนั่งหรือยืนนานๆ เพื่อลดการคั่งของน้ำเลือดที่ฝีเย็บและผนังช่องคลอดซึ่งจะทําให้ความเจ็บปวดลดลง
- แนะนําให้มารดาขมิบช่องคลอด วันละ 3-4 ครั้ง โดยแต่ละครั้งจะต้องขมิบ 100-200 ครั้ง เพื่อให้การไหลเวยนดีอาการปวดฝีเย็บจะลดลง
- ดูแลให้รับยาแก้ปวด พาราเซทตามอล ตามแผนการรกษาเพื่อบรรเทาอาการปวด
ปวดมดลูก
-
-
การพยาบาล
- อธิบายให้ฟังว่าการปวดมดลูกเกิดจากกล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวสลับกับการคลายตัวซึ่งครรภ์หลังมักจะปวดกว่าครรภ์แรกเพราะมดลูกของครรภ์หลังสูญเสียการตึงตัวของกล้ามเนือมากกว่า และจะปวดมดลูกมากยิ่งขึ้น ถ้าให้นมบุตรเพราะขณะทารกดูดนม ร่างกายจะหลั่ง oxytocin ทำให้มดลูกคลายตัวและสามารถป้องกันการตกลือดหลังคลอดได้
- สอนเทคนิคการหายใจผ่อนคลาย หายใจเข้าทางจมูกช้า ๆ ให้เต็มปอดนับ 1-10 กลั้นลมหายใจ 2-3 วินาทีแล้วจึงหายใจออกทางปากช้าๆ โดยระยะเวลาหายใจออกเป็นสองเท่าของหายใจเข้าทำสลับกัน 5-10 ครั้ง
- แนะนำมารดาให้นอนคว่ำโดยเอาหมอนรองหน้าท้องน้อย เพื่อให้น้ำคาวปลาไหลได้ดีขึ้น เพราะจะช่วยไล่ก้อนเลือด ลิ่มเลือดที่อยู่ในช่องคลอด หรือช่องท้องออกมา
- ดูแลให้รับยาแก้ปวด พาราเซทตามอล ตามแผนการรกษาเพื่อบรรเทาอาการปวด
-
-
-
-
G2P1Last 2 years GA 38+4 Weeks by U/S , Elderly Gravidarum, Mild pre-eclampsia without severe feature Malposition (Occiput posterior position, SGA, Ab normal Delivery (Vacuum Extraction)