Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับ ความรู้สึกพิเศษ - Coggle Diagram
อวัยวะความรู้สึกทั่วไปและอวัยวะรับ
ความรู้สึกพิเศษ
การแบ่งชนิดตัวรับความรู้สึก
แบ่งตามรูปร่างทางจุลกายวิภาคศาสตร์
ปลายเปลือย
ปลายกระบอกแคปซูล
เซลล์ประสาทส่วนปลาย
แบ่งตามตัวรับหรือตามหน้าที่
สิ่งเร้าอยู่ภายนอกเช่น ความร้อน/เย็น
สิ่งเร้าจากอวัยวะภายใน
สิ่งเร้าอยู่ห่างจากตัวรับ ได้แก่ กลิ่น แสง เสียง
ตำแหน่งของร่างกายความรู้สึกขณะเคลื่อนไหว
แบ่งตามชนิดของตัวการตุ้น
พลังงานกล
อุณหภูมิ
เคมี
แสง
ตัวรับสิ่งกระตุ้นที่อาจเป็นอันตราย เช่น ความเจ็บปวด
คุณสมบัติทั่วไปของตัวรับความรู้สึก
การปรับตัวของตัวรับความรู้สึก
ตัวรับหนึ่งจะตอบสนองต่อแรงที่กระตุ้นบนพื้นผิวเฉพาะในบริเวณขอบเขตที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกกระจายอยู่
ปริมาณของสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก
ระยะห่างของจุดกระตุ้นที่น้อนที่สุดสามารถบอกได้ว่ามีการกระตุ้น2ตำแหน่งใข่สำหรีบวัดระยะห่างของ Recptive fields
การมองเห็น
เซลล์รับสี
จะเริ่มทำงานเมื่อได้รับบแสงการมองเห็น
เซลล์รับแสง
ลักษณะเป็นแงยาวๆไวแสงมาก กระจายบริเวณรอบนอก
Fover มีจำนวนประมาณ 100ล้านอัน
Differentiating aptitudes
แสง
กระจกตา
รูม่านตา
เลนส์ตา
ฉากรับภาพ
ภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัถตุ
Hire me because
องค์ประกอบของการรับความรู้สึกพิเศษ
เส้นประสาทประสมอง
cernial nerve
เซลล์ประสาทที่2และ3
second
Third order neurons
ตัวรับความรู้สึก
Sensory receptor
การได้ยิน
หูชั้นใน
คอเคลีย
ช่ิเซมิเซอร์คิวลาร์
เซลล์ขน
ตัวรับกระตุ้นของเสียง
โดนเซลล์ขนที่ฐานคลอเคลีย
ทำหน้าที่ัรบเสียงสูงปลายท่อรับเสียงทุ้ม
หูชั้นกลาง
ท่อยูสเตเซียน
กระดูกค้อน
กระดูกทั่ง
กระดูกโกลน
แลบบิรินท์
อวัยวะรับการทรตัว
หูชั้นนอก
ใบหู
ช่องหู
แก้วหู หรือ เยื่อแก้วหู
หินปู
เกาะอยู่ระหว่างคลอเคลียกับประสาทการทรงตัว
ช่วยในการเคลื่อนไหวศรีษะตามแรงโน้มถ่วง
ตัวรับรู้สัมผัส
Merkel’s disks
อยู่บริเวณปลายนิ้วมือมี receptive field แคบ รับสัมผัสที่ละเอียดอ่อน
Ruffini ending
อยู่ลึกในผิวหนังและข้อต่อ
Free nerve ending
อยู๋ที่ผิวหนังรับการสัมผัส
การทรงตัว
ขึ็นอยู่กับองประกอบดังนี้
Cerebellum
Eyes
Posterior column of spinal cord
Vestibular apparatus
หูชี่นในที่ช่วยในการทรงตัว
1.หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน
คือ หลอดกึ่งวงกลม
2.หูส่วนที่รับรู้การเคลื่อนไหวตามแนวXY
คือ Saccule
ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวตั้ง Y
Utricle
ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนไหวแนวราบ X
ช่องเซมิเซอร์คิวลาร์