Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือดูแลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร …
การช่วยเหลือดูแลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
และการขับถ่ายอุจจาระที่ไม่ซับซ้อนรุนแรง
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาในการรับประทานอาหาร
1)เบื่ออาหาร
หาสาเหตุแล้วขจัดสาเหตุ
ลดความรู้สึกเบื่ออาหารและส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุด
ดูแลด้าจิตใจ
2)คลื่นไส้ อาเจียน
ดูแลทันทีเมื่อเกิดอาการ
สังเกต บันทึก และประเมินอาการ
การช่วยเหลือหลังอาเจียน เช่น ความสะอาดของร่างกาย นอนพักผ่อน
หาสาเหตุของอาการอาเจียน และป้องกัน/แก้ไข
3)กลืนลำบาก กลืนไม่ได้
สังเกตและประเมินอาการ
ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีคุณค่าและพลังงานเพียงพอต่อร่างกาย
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลผู้ป่วยที่มีการย่อยและการดูดซึม
1)ท้องอืด
จัดท่านอนศีรษะสูง 45-60 องศา
ดูแลด้วยความเข้าใจ
ดูแลช่วยเหลือให้ยาตามแผนการรักษา
2)ปวดท้อง
ประเมินความเจ็บปวดและประเมินสัญญาณชีพ
หาสาเหตุ ลักษณะการปวด ตำแหน่งที่ปวด
ให้การช่วยเหลือ เช่น จัดท่านอน วางกระเป๋าน้ำร้อน
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
1)ท้องผูก
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีเส้นใยและกากใยมากๆ ดื่มน้ำวันละ 2,000- 2,500 ml
(ถ้าไม่มีข้อห้าม)
ฝึกการถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
ออกกำลังกาย
2)ท้องเดิน
สังเกต บันทึก และรายงาน
เฝ้าระวัง ป้องกันและช่วยแก้ไขอาการขาดน้ำและเกลือแร่
สังเกตความผิดปกติอื่นๆ
รับประทานอาหารตามแผนการรักษา
ดูแลป้องกันการแพร่กระจายเชื้อหรือการกลับเป็นอีก
3)การมีเลือดปนออกมากับอุจจาระ
ประเมินสัญญาณชีพและสังเกตอาการทั่วไป
สังเกตการมีเลือดออก ลักษณะอุจจาระ และติดตามค่าฮีมาโตคริท
พักผ่อน และป้องกันอุบัติเหตุ เนื่องจากผู้ป่วยมักอ่อนเพลีย วิงเวียน จากการเสียเลือด
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีการระบายอุจจาระทางหน้าท้อง
โคลอสโตมี
คือ การผ่าตัดเอาลำไส้ใหญ่ออกมาเปิดทางหน้าท้อง เพื่อเป็นทางออกของอุจจาระ โดยมีรูเปิดบริเวณหน้าท้อง เรียกว่า
stoma
การดูแลผู้ป่วยที่ทำโคลอสโตมี
การดูแลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1)เตรียมด้านจิตใจ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเกี่ยวกับการผ่าตัด
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดคุยกับผู้ที่ทำโคลอสโตมีมาแล้ว
ให้กำลังใจและอยู่เป็นเพื่อน
2)ส่งเสริมภาวะโภชนาการ
รับประทานอาหารอ่อนที่มีโปรตีนและธาตุเหล็กสูง
ให้สารน้ำและเกลือแร่ทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ในกรณีที่ผู้ป่วยซีดดูแลให้ได้รับเลือด
3)การเตรียมลำไส้
สวนอุจจาระ อาจทำ 1 สัปดาห์ ก่อนผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับอาหารกากน้อย
ให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อลดจำนวนเชื้อก่อนผ่าตัด
4)ให้ความรู้ผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1)การดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
สังเกตการตกเลือด
สังเกตลักษณะของรูเปิด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอและหายใจลึกๆทุก 2-4 ชั่วโมง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยพลิกตะแคงตัว
สังเกตภาวะขาดน้ำ
2)การให้ความรู้ผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลโคลอสโตมี
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้ท้องเสียหรือท้องผูก ย่อยยาก รสเผ็ดจัด และอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
ออกกำลังกาย
การสวนล้าง สวนล้างวันเว้นวันหรือสวนล้างทุกๆ 3 วัน
3)ธีการเปลี่ยนถุงเก็บอุจจาระ
ทำความสะอาดรูเปิดด้วยน้ำสบู่
วัดและตัดรูเปิดของถุงให้พอดีกับรูเปิดโคลอสโตมี
ใส่ถุงโคลอสโตมีโดยครอบปากถุงโคลอสโตมีลงบนรูเปิดแล้ว
ค่อย ๆ รีดถุงโคลอสโตมีจากรูเปิดออกไปให้แน่น
ควรเปลี่ยนถุงโคลอสโตมีก่อนที่อุจจาระจะเต็มหรือหลุดจากรูเปิด
4)การดูแลผิวหนัง
ทำความสะอาดผิวหนังด้วยน้ำสบู่และเช็ดให้แห้ง
ถ้าผิวหนังแดงอาจทาด้วยยาลดกรด
5)การควบคุมกลิ่น
หลีกเลี่ยงอาหารที่จะทำให้เกิดกลิน เช่น ถั่ว หัวหอม ไข่ กะหล่ำปลี
อาจใช้ยาแอสไพริน หรือใช้สารดูดกลิ่นใส่ลงในถุง หรือใช้สารละลายน้ำส้มทำความสะอาดถุงเก็บอุจจาระ
นางสาวสาลิกา วังคำ เลขที่ 36 รหัสนักศึกษา 64180090376