Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case analysis, นางสาวยัสมีน ดอเลาะ รหัส 611001038 เลขที่ 39 - Coggle…
Case analysis
ปัญหาสุขภาพด้านมารดา
-
- มีโอกาสเกิดภาวะชัก เนื่องจากมีภาวะ Mild preeclampsia
without Severe feature
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินอาการแสดงนำสู่ภาวะชัก ได้แก่ อาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว เห็นภาพไม่ชัด อาการปวดหรือจุกแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่
- ดูแลให้ได้รับยา 50% MgSO4 10 gm. ผสมใน 5% D/W 1,000 ml. IV drip start 100 cc/hr. จนครบ 24 ชั่วโมงหลังคลอด เพื่อป้องกันการชัก
- ประเมินระดับความรู้สึกตัว ความดันโลหิต ชีพจรและการหายใจ อาการปวดศีรษะ ทุก 1 ชั่วโมง และรายงานแพทย์เมื่ออาการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลงกว่าเดิม
- ดูแลให้พักผ่อนและทำกิจกรรมต่างๆบนเตียง เพื่อป้องกันการเกิดอุบิติเหตุจากความดันโลหิตและป้องกันการเกิดอาการชัก
- เตรียมยา 10% Calcium gluconate 10 กรัม ไว้ให้พร้อมโดยฉีดเข้าหลอดเลือดดำช้าๆ ถ้าพบลักษณะการหายใจและการทำงานของหัวใจถูกกดจาก MgSO4
- บันทึกปริมาณสารน้ำที่ได้รับและปริมาณปัสสาวะ โดยเฉพาะตรวจสอบปริมาณ Urine out put ต้องมากกว่า 30 cc./hr.
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินความรุนแรงของโรค
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายให้มารดาเข้าใจว่า การปวดมดลูกเกิดจากกล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวดีซึ่งครรภ์หลังจะปวดมากกว่าครรภ์แรก และจะปวดมากเมื่อทารกดูดนม
- สอนเทคนิคการหายใจลดปวด โดยให้หายใจเข้าทางจมูกลึกๆ และผ่อนลมหายใจออกทางปากเพราะการหายใจสามารถควบคุมความเจ็บปวดได้
- แนะนำมารดาหลังคลอดให้นอนคว่ำใช้หมอนรองบริเวณหน้าท้องเพื่อบรรเทาอาการปวดและทำให้น้ำคาวปลาไหลสะดวกขึ้น
- แนะนำมาดาให้ประคองกล้ามเนื้อบริเวณหน้าท้องอาจจะประคองด้วยหมอนหรือมือหรือใช้ผ้ารัดหน้าท้อง เพื่อบรรเทาอาการปวด
- แนะนำมารดาหลังคลอดให้ประคบร้อนโดยวางกระเป๋าถุงน้ำร้อนไว้บริเวณท้องน้อยใต้สะดื้อย่างน้อย 10 นาที เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานผ่อนคลาย
- สอนมารดาคลึงมดลูกให้กลมแข็ง เพื่อไล่ก้อนเลือดในโพรงมดลูก
-
กิจกรรมการพยาบาล
- แนะนำให้มารดานอนพักบนเตียง โดยพยายามนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับแผลฝีเย็บ เพื่อลดการกดทับบริเวณแผล และเคลื่อนไวร่างกายช้าๆ ช่วยลดการกระทบกระเทือนบริเวณแผลฝีเย็บ
- ดูแลให้ได้รับการอบแผลฝีเย็บวันละ 1 ครั้ง หลังคลอด12-24 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อบรรเทาอาการปวด บวม แดง บริเวณแผลฝีเย็บ
- สอนเทคนิคการหายใจลดปวด โดยให้หายใจเข้าทางจมูกลึกๆ และผ่อนลมหายใจออก ทางปากเพราะการหายใจสามารถควบคุมความเจ็บปวดได้
- แนะนํามารดาให้รักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และฝีเย็บ โดยล้างด้วยน้ำสบู่ ซับให้แห้ง เปลี่ยนผ้าอนามัยเมื่อชุ่ม
- แนะนํามารดาให้พักผ่อนท่านอนตะแคงหรือท่านอนคว่ำหลีกเลี่ยงการนั่งหรือ ยืนนานๆ เพื่อลดการคั่งของน้ำเลือดที่ฝีเย็บ
- แนะนำการบริหารฝีเย็บ เช่น การทำ Kegel exercise โดยให้ขมิบช่องคลอด ซึ่งจะต้องทำวันละ 200-300 ครั้ง
-
- มารดามีอาการเหนื่อยล้าเนื่องจากสูญเสียพลังงานจากการคลอด
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้นอนพักโดยปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลให้พร้อมในเวลาเดียวกันเพือรบกวนมารดาหลังคลอดใ ห้น้อยทีสุดเพือให้พักผ่อนได้เต็มที
- ดูแลให้ได้รับสารนา ทางหลอดเลือดดํา 5%D/N/ 2 1,000 ml iv 100 ml/hr ตามแผนการรักษา
-
- ดูแลและแนะนําการรักษาทําความสะอาดร่างกาย เพื่อให้รู้สึกสดชื่นขึ้น
- ดูแลให้รับประทานอาหารทีมีประโยชน์
- มารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพทารกจากการใช้สูติศาสตร์หัตการช่วยคลอด
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ให้ข้อมูลแก่มารดาเกี่ยวกับสาเหตุของการช่วยคลอดและผลกระทบที่เกิดจากการใช้สูติศาสตร์หัตการช่วยคลอด
- ให้ข้อมูลและอธิบายแก่มารดาเกี่ยวกับรอยครอบที่เกิดขึ้นบริเวณศรีษะของทารก เป็นภาวะ Caput succedaneum จะไมเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ ปกติจะหายไปเองประมาณ 24 – 48 ชั่วโมง
- นำทารกมาให้มารดาให้นมบ่อยๆ ทุก 3-4 ชั่วโมง เพื่อสร้างสัมพันธภาพให้มารดาลกดความวิตกกังวล
- ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการของทารกและแผนการรักษาของทารกเป็นช่วงๆเพื่อให้มารดาลดความวิตกกังวล
- ดูแลให้กำลังใจมารดาปลอบโยนอย่าให้มารดาคิดมากหรือเป็นกังวลถ้ามารดารู้สึกวิตกกังวล
- แนะนำมาราผ่อนคลายความวิตกกังวลโดยการพูดคุยกับสมาชิกในครอบครัวปรึกษาคนในครอบครัว
- แนะนำดูแลทารกโดยดูแลอย่างนิ่มนวล งดใช้ความรุนแรงกับทารกโดยเฉพาะบริเวณที่ศรีษะ ตอนอาบน้ำให้มารดาเช็คทำความสบายเบาหลีกเลี่ยงการเกา หรือนวดบบริเวณรอยบวม
- ส่งเสริมการวางเเผนครอบครัว
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
-
- ให้คําแนะนํามารดาในการฉีดยาคุมกําเนิด
-
4.2 ก่อนฉีดยาคุมกําเนิดจะต้องมันใจว่ามารดาไม่ได้ตังครรภ์หากมารดามีเพศสัมพันธ์ก่อนมาฉีดยาคุมกําเนิดจะต้องรอให้ประจําเดือนมาก่อนถึงจะฉีดยาคุมกำเนิดได้ โดยเริมฉีดได้ตังแต่วันที 1-5 ของการมีประจําเดือนและระหว่างรอประจําเดือนมาหาก ต้องการมีเพศสัมพันธ์จะต้องสวมถุงยางอนามัยทุกครัง
4.3 ยาฉีดคุมกําเนิดชนิดฮอร์โมนเดียวไม่มีผลต่อการผลิตนานมดังนั้นหลังคลอดสามารถฉีดได้ทันที หรือ ฉีด 4- 6 สัปดาห์หลังคลอด (ยกเว้นชนิดฮอร์โมนรวม)
-
4.5 ควรมาฉีดยาคุมกําเนิดตามนัด (DMPA ฉีดทุก 84 วัน และ NET-EN ฉีดทุก 60 วัน) ในกรณีไม่สามารถมาตามนัดได้ ไม่ควรมาก่อนหรือหลังกําหนด 2 สัปดาห์
-
4.7 แนะนําภาวะเจริญพันธุ์ภายหลังหยุดใช้ยาจะมี ประจําเดือนมาปกติภายใน 6 เดือน มากกว่าร้อยละ 50 และประจาเดือนมาปกติภายใน 1 ป ร้อยละ 85 จากการศึกษาพบว่าหลังจากหยุดฉีดยาแล้วจะตังครรภ์ได้ช้ากว่าผู้หยุดใช้ยาเม็ดคุมกาเนิดและห่วงอนามัยประมาณ 2-3 เดือน
Elderly Gravidarum, Mild pre-eclampsia without
severe feature Malposition (OPP) with ND. vaccuum extrction with SGA
-
-