Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism and Body Temperature - Coggle Diagram
Metabolism and Body Temperature
สัญญาณชีพ (Vital signs)
สัญญาณชีพเป็นกลุ่มของอาการแสดงสeคัญที่บ่งบอกถึงสถานะของกระบวนการที่ท าให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ได้ ค่าปกติของสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันไปตามอายุ น้ำหนัก เพศ และสุขภาพโดยรวม
อุณหภูมิกาย (Body temperature)
อุณหภูมิร่างกาย หมายถึง ระดับความร้อน หรือความเย็นของร่างกาย ที่วัดค่าออกมาได้หรือเป็นความสมดุล ระหว่างการผลิตความร้อน และการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม ซึ่งอุณหภูมิของร่างกาย จะคงที่เสมอ ไม่ว่าอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนไปอย่างไร
• อุณหภูมิแกนกลาง (Core temperature) อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.5 –37.5 °C จะมี Thermoregulatory systemเป็นระบบควบคุมอุณหภูมิแกนกลางให้อยู่ในช่วงนี้
• อุณหภูมิผิว (Shell or Skin temperature) อุณหภูมิจะอยู่ที่ 36.6 –37.0 °C ❖ ผิวเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนความร้อนกับ สิ่งแวดล้อม ❖ แปรผันได้มากกว่าอุณภูมิแกนกลาง ❖ โดยทั่วไปจะมีค่าน้อยกว่า Core temperature
ช่วงอุณหภูมิกายปกติของแต่ละช่วงอายุที่วัดโดยการใช้ ปรอทวัดไข้ (Thermometer) แบบหลอดแก้ว
ค่าที่วัดได้จะต้อง + 0.5 °C (1 -2 °F) vs Rectal temp
ค่าที่วัดมีความแน่นอนและแม่นย ามากที่สุด จึงให้เป็นค่าในการอ้างอิง
ค่าที่วดัได้จะต้อง + 1 °C (2-4 °F) vs Rectal temp
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิกาย (Factors affecting normal body temperature)
ปัจจัยที่มีผลต่อการผันแปรของอุณหภูมกิายปกติ
การเปลยี่นแปลงช่วงเวลาระหว่างวนัหรือนาฬิกาชีวภาพ (Dailycycle:Circadianrhythm)
ช่วงระยะเวลาของการมีประจำเดือน(Phase of menstrual cycle)
อตัราการเมตาบอลซิึม(Metabolism rate)
ระบบการควบคุมอุณหภูมิของสมอง (Temperature-regulating center
การสมดุลความร้อน (Heat balancing)
Heat balancing →Normal body temperature Heat production = Heat loss
Hyperthermia →High body temperature Heat production > Heat loss
Hypothermia →Low body temperature Heat production < Heat loss
การผลติความร้อนจากภายในร่างกาย (Internal heat production
Metabolismrate
• Basal metabolism rate (Age, Sex, Surface area)
• Activity
• Emotion
• Foodintake
• Atmospheric temp.
Extra Metabolism
• Shivering
• Brownadiposetissue
• Hormones
สิ่งแวดล้อมภายนอก (External environment)
Heat loss from internal organs (การระบายความร้อนจากอัยวะภายใน)
• Major sit of heat production →Rest of the body
Conduction การนำความร้อนจากอวยัวะหนึ่งไปยังอวยัวะหนึ่ง
Convection การพาความร้อนไปกับเลือด
• Core →Skin
กลไกการนำความร้อนออกจากร่างกาย (Mechanisms of heat transfer)
Evaporation
การระเหย 22 %
Radiation
การแผ่รังสี 60 %
Convection
การพาความร้อน 15 %
Conduction
การน าความร้อน 18 %
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย (Thermoregulatory system)
สิ่งเร้า (Stimuli) ความร้อน/ความเย็น จากภายนอกภายในร่างกาย
ตัวรับอุณหภูมิ (Thermoreceptors)
Peripheral or Cutaneous thermoreceptors
• Cold thermoreceptors;อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่12–32°C ผ่าน Aδsmall myelinated fiber
• Warmth thermoreceptors ; อุณหภูมิกระตุ้นอยู่ที่ 30 –34 °C ผ่าน C unmyelinated fiber
Central or Core thermoreceptors
• Cold-sensitive neurons; อุณหภูมิโดยรอบที่เย็น
• Heat-sensitive neurons; อุณหภูมิโดยรอบที่ร้อน
Deep body temp. receptor
-Spinalcord, Abdominal viscera, Around the Great vein
-Expose to the body core temp.
หน่วยปฏิบัติการที่ท าหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย(Thermo-regulatory effectors)
การไหลเวยีนเลือดใต้ผวิหนัง(Cutaneous bloodvessels
กล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscle)
ต่อมเหงื่อ(Sweat gland)
ต่อมไร้ท่อ(Endocrine gland)
ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland)
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
ระบบตอบสนอง
Autonomic nerve
Somaticnerve
Hormone
Behavior
หน่วยปฏิบัติการตอบสนองต่อความร้อน(Response to Heat)
Heat loss ↑
Cutaneous vasodilation
Sweating↑
Change position and Clothing
Aircurrent↑
Respiration↑
Heat production ↓
Anorexiaลดความอยากอาหาร
Apathy เฉื่อยชา, เคลื่อนไหวลดลง
Thyroidsecretion↓
หน่วยปฏิบัติการตอบสนองต่อความเย็น(Response to Cold)
Heat loss ↓
Cutaneous vasoconstriction
Piloerection ขนลุก
Curling up ขดตัว
Heat production ↑
Shivering thermogenesis (Core temp. ≤ 35.5 °C)
Voluntary activity ↑
NE, E, Thyroxine secretion
Hungerอยากอาหาร
ความผิดปกติของการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย (Abnormalities of body temperature regulation)
อุณหภูมิกายสูง(Hyperthermia) อุณหภูมิกายอยู่มากกว่า 37.5 °C
• Heat syncope (ลมแดด)
พบในคนทยี่ืนนิ่ง ๆ นาน ๆ กลางแดด → Venous return ↓
• Heat exhaustion (การอ่อนเพลียจากความร้อนจากการสูญเสียน ้าจ านวนมาก) พบในคนที่อยู่ในที่ร้อน, ออกก าลังกายรุนแรงหรือนานในที่อากาศร้อนชื้น เหงื่อออกจ านวนมาก → ร่างกายขาดน า้, ความดันโลหิตต ่า, หัวใจเต้นเร็วขึ้น
• Heat stroke (อุณหภูมิกายสูงมากกว่า 40.5 °C) จนทา ให้ระบบประสาทเสียหาย เช่น ในคนทไี่ด้รับยาขับปัสสาวะ เป็นต้น อาการ: อาเจียน, ปวดหัว, สับสน, กระสับกระส่าย, หมดสติ, ช็อค
• Fever หรือ Pyrexia (ไข้)