Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Elderly gravidarum with Mild pre-eclampsia without severe features with…
Elderly gravidarum with Mild pre-eclampsia without severe features with Malposition (OPP) with ND. vaccuum extrction with SGA
-
- มีอาการอ่อนเพลีย เนื่องจากสูญเสียพลังงานจากการคลอด
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
2.แนะนำให้มารดาปฏิบัติกิจวัตรบนเตียง โดยให้การช่วยเหลือในการเปลี่ยนผ้าอนามัย การขับถ่ายปัสสาวะบนเตียง ไม่ให้มารดาลุกเดิน จนกว่าจะครบอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
3.ให้มารดารับประทานน้ำหวาน แนะนำการรับประทานอาหารและน้ำ โดยให้รับประทานน้ำวันละ 2,000-3,000 มิลลิตร และรับประทานอาหารที่ให้พลังงาน เนื้อสัตว์ ไข่ นม ผัก ผลไม้
-
5.แนะนำให้มารดาหลังคลอดเปลี่ยนอิริยาบถอย่างช้าๆ เมื่อจะลุกขึ้นไปห้องน้ำ ให้เริ่มจากลุกเดินรอบๆเตียงก่อน ถ้าไม่มีอาการวิงเวียนศีรษะ สามารถไปห้องน้ำได้ ต้องมีญาติดูแลอย่างใกล้ชิด
6.แนะนำการดูแลทำความสะอาดร่างกายและความสุขสบายทั่วไป เช่น การเช็ดหน้า การเช็ดตัวตัว เปลี่ยนผ้าอนามัย เพื่อให้มารดารู้สึกสบาย สดชื่นมากขึ้น
-
-
- มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา MgSO4
ข้อมูลสนับสนุน
รับย้ายจาก LR on 5%DN/2 1,000 ml + 50%MgSO4 10 gm IV drip 100cc/hr
-
- ประเมินปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง ปัสสาวะไม่ควรออกน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/ชั่วโมง และ 4 ชั่วโมง ปัสสาวะไม่ควรออกน้อยกว่า 100 มิลลิลิตร/ชั่วโมง เพราะ MgSO4 ขับออกทางไต
- ประเมิน DTR ทุก 2-4 ชั่วโมง DTR ไม่ควรต่ำกว่า 2+ เพราะ MgSO4 มีผลให้ DTR ลดลง
-
5.ประเมิน Magnesium toxicity โดยระยะแรกมีอาการ้อนวูบวาบ กระหายน้ำ เหงื่อออก ความดันโลหิตลดลง กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก และ DTR ลดลง ในระยะหลังจะกดประสาทส่วนกลาง ซึม หายใจช้าลง การเต้นของหัวใจผิดปกติ หยุดหายใจและการทำงานของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนล้มเหลว
- เตรียม 10% calcium gluconate เป็น antidote ของ MgSO4 ให้ทางหลอดเลือดดำ หากพบ Magnesium toxicity
5.ปวดแผลฝีเย็บ
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้มารดาได้รับยาแก้ปวด Paracetamol 500 mg 1 tab q 4-6 hr. for pian ตามแผนการรักษาและติดตามอาการข้างเคียงหลังได้รับยา
-
-
-
-
-
-
-
- มารดามีความรู้ไม่เพียงพอในการทำหมันคุมกำเนิด
-
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายให้มารดาทราบเกี่ยวกับการคุมกำเนิดแบบทำหมัน คือ เป็นวิธีการคุมกำเนิดแบบถาวร โดยการมำให้ท่อนำไข่ตีบทั้ง 2 ข้างด้วยการถูกและตัดท่อนำไข่ เพื่อป้องกันไม่ให้ไข่และอสุจิ เดินทางมาปฏิสนธิกันในท่อนำไข่
- ให้ข้อมูลมารดาเกี่ยวกับการทำหมัน ดังนี้
2.1 ข้อบ่งชี้ มีบุตรเพียงพออย่างน้อย 2 คน และบุตรมีสุขภาพดี มีโรคประจำตัวที่อาจมีผลต่อการตั้งครรภ์ เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
2.2 ข้อดี เป็นการคุมกำเนิดแบบถาวร ไม่มีผลกระทบต่อรอบประจำเดือนและการมีเพศสัมพันธ์ และมีประสิทธิภาพสูง ทำได้ง่าย ปลอดภัย ได้ผลดี ราคาไม่แพง
-
-
- วัยรุ่น และมีบุตร 1 คนมีปัญหาเกี่ยวกับชีวิตสมรส อยู่ในภาวะติดเชื้อ มีไข้สูง ควรรักษาให้หายก่อน มีโรคประจำตัวในระยะรุนแรง เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคโลหิตจาง
-
- หลังทำหมันให้นอนพัก 2-3 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำและรับประทานอาหารจกว่าจะหายมึนงง หรือง่วงซึม
- รายที่ผ่าตัดทางหน้าท้อง ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำจนกว่าจะตัดไหมประมาณ 5-7 วัน
- รายที่ทำหมันแห้งสามารถทำงานได้ตามปกติ งดทำงานหนัก 1 wk.
- มาตรวจตามนัดหลังทำหมันครบ 1 wk. และนัดตรวจภายใน 6 wk.
- ถ้ามีอาการผิดปกติ เช่น แผลติดเชื้อ เลือดออก ไข้สูง ปวดท้องมาก เป็นต้น
- ทารกอาจเกิดภาวะ hypothermia
-
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายให้มารดาทราบถึงภาวะ hypothermia หรือภาวะอุณหภูมิกายต่ำ ว่าเป็นภาวะเป็นภาวะแทรกซ้อน ที่พบได้บ่อยในทารกแรกเกิด อาจทำให้มีผลกระทบต่อการปรับตัวและสุขภาพของทารก
- บอกมารดาให้ห่อตัวทารกให้มิดชิด ต้องไม่หนาเกินไปและบางเกินไปเพราะหากหนาเกินไปอาจทำให้ทารกมีอุณหภูมิกายสูงได้
- กระตุ้นให้ได้รับนมมารดาอย่างเพียงพอ ให้ทารกดูดนมมารดา 2-3 ชั่วโมง นานข้างละ 10-15 นาที ถ้าได้รับนมไม่เพียงพอ จะเพิ่ม cuff feed 30 cc. ทุก 2-3 ชั่วโมงและขณะให้นมให้มารดาโอบกอดทารกไว้ในอ้อมแขนเพื่อเพิ่มความอบอุ่น
- ดูแลทารกให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียความร้อนได้แก่ การพา การนำ การระเหย การแผ่รังสี
5.ดูแลการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะของทารก เปลี่ยนผ้าอ้อมและเช็ดให้แห้งทุกครั้งเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน
- ติดตาม v/s ทารกโดยเฉพาะอุณหภูมิ ทุก 4 ชั่วโมง
- ติดตามระดับความรู้สึกตัวของของทารก พร้อมที่งสังเกตอาการทางคลินิกของการมีอุณหภูมิร่างกายต่ำ เช่น เขียวตามปลายมือปลายเท้า ซึม กระสับกระส่าย ผิวหนังซีดและเย็น หายใจเร็วรับนมไม่ได้ หากมีอาการและอาการแสดงดังกล่าวให้รีบแจ้งพยาบาล
- ทารกอาจเกิดภาวะ Hypoglycemia
ข้อมูลสนับสนุน
แรกคลอดทารกหนัก 2,420 กรัม
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
1.1ทารก หิว ดูดนมได้ดี ให้ดูดนมแม่โดยเร็ว ภายใน 1ชั่วโมง
1.2ทารกไม่แสดงอาการหิว บีบน้ำนมแม่ป้อนให้ทารก
1.3ให้Cup feeding ทารกเพิ่มเติมจากนมมารดา ทุก 2-3 ชั่วโมง จำนวน30ml/มื้อ จะได้ 240ml/day (8 Oz/day)
2.ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายทารก โดยการห่อตัว ใส่หมวกเพื่อป้องกันการเผาผลาญใช้น้ำตาลในร่างกายเพิ่มมากขึ้น
3.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ดูแลให้ทารก พักผ่อนอย่างเพียงพอ ลดการใช้พลังงานร่างกาย หลีกเลี่ยงการสูญเสียความร้อน
4.Obs อาการและอาการแสดงของภาวะHypoglycemia เช่น อ่อนเพลีย หยุดหายใจ เหงื่อออก ตัวเย็น ใจสั่น ถ้ารุนแรงให้รายงานแพทย์ทันที
- ติดตามผลการตรวจหาระดับน้ำตาลเป็นระยะเพื่อให้ทราบการเปลี่ยนแปลง และให้การช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
-
-