Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Analysis, นางสาวปาริฉัตร หอมหวล รหัส 611001027 เลขที่ 28 - Coggle…
Case Analysis
ปัญหาสุขภาพ
Elderly gravidarum
-
ทารก
Down syndrome, Abruption placenta, Placenta previa
-
-
-
-
- มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา MgSO4
ข้อมูลสนันสนุน
O : รับย้ายจาก LR on 5%DN/2 1,000 ml + 50%MgSO4 10 gm IV drip 100cc/hr
-
กิจกรมมการพยาบาล
- ประเมินการหายใจทุก 1 ชั่วโมง อัตราการหายใจไม่ควรต่ำกว่า 14 ครั้ง/นาที
- ประเมินปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง ปัสสาวะไม่ควรออกน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/ชั่วโมง และ 4 ชั่วโมง ปัสสาวะไม่ควรออกน้อยกว่า 100 มิลลิลิตร/ชั่วโมง เพราะ MgSO4 ขับออกทางไต
- ประเมิน DTR ทุก 2-4 ชั่วโมง DTR ไม่ควรต่ำกว่า 2+ เพราะ MgSO4 มีผลให้ DTR ลดลง
- ประเมินความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมง Keep BP > 140/90 mmHg
- ประเมิน Magnesium toxicity โดยระยะแรกมีอาการ้อนวูบวาบ กระหายน้ำ เหงื่อออก ความดันโลหิตลดลง กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก และ DTR ลดลง ในระยะหลังจะกดประสาทส่วนกลาง ซึม หายใจช้าลง การเต้นของหัวใจผิดปกติ หยุดหายใจและการทำงานของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนล้มเหลว
- เตรียม 10% calcium gluconate เป็น antidote ของ MgSO4 ให้ทางหลอดเลือดดำ หากพบ Magnesium toxicity
- อาการอ่อนเพลีย เนื่องจากสูญเสียพลังงานจากการคลอด
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายให้มารดาทราบถึงอาการอ่อนเพลียเนื่องจากมารดามีการเสียเลือดหลังคลอดและสูญเสียพลังงานขณะคลอด
- แนะนำให้มารดาปฏิบัติกิจวัตรบนเตียง โดยให้การช่วยเหลือในการเปลี่ยนผ้าอนามัย การขับถ่ายปัสสาวะบนเตียง ไม่ให้มารดาลุกเดิน จนกว่าจะครบอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
- ให้มารดารับประทานน้ำหวาน เพื่อช่วยอาการลดอาการอ่อนเพลีย แนะนำการรับประทานอาหารและน้ำ โดยให้รับประทานน้ำวันละ 2,000-3,000 มิลลิตร และรับประทานอาหารที่ให้พลังงาน เนื้อสัตว์ ไข่ นม ผัก ผลไม้ เพื่อช่วยให้ร่างกายแข็งแรงฟื้นฟูสุขภาพได้เร็วขึ้น
- แนะนำให้ญาติช่วยเหลือในการทำกิจกรรมและคอยป้อนอาหาร พาเข้าห้องน้ำ เปลี่ยนผ้าบนเตียง
- แนะนำให้มารดาหลังคลอดเปลี่ยนอิริยาบถอย่างช้าๆ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะ Orthostatic hypotension และเมื่อจะลุกขึ้นไปห้องน้ำ ให้เริ่มจากลุกเดินรอบๆเตียงก่อน ถ้าไม่มีอาการวิงเวียนศีรษะ สามารถไปห้องน้ำได้ ต้องมีญาติดูแลอย่างใกล้ชิด
- แนะนำการดูแลทำความสะอาดร่างกายและความสุขสบายทั่วไป เช่น การเช็ดหน้า การเช็ดตัวตัว เปลี่ยนผ้าอนามัย เพื่อให้มารดารู้สึกสบาย สดชื่นมากขึ้น
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้มารดาได้รับยาแก้ปวด Paracetamol 500 mg 1 tab q 4-6 hr. for pian ตามแผนการรักษาและติดตามอาการข้างเคียงหลังได้รับยา ได้แก่ หายใจไม่ออก เจ็บแน่นหน้าอก คลื่นไส้อาเจียน ปากบวม ลิ้นบวมใบหน้าบวม เป็นต้น
-
- สอนเทคนิคการหายใจลดปวด เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
- แนะนำมารดาทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์อย่างถูกวิธี
- แนะนำมารดาเปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่ชุ่มหรือไม่เกิน 3 ชั่วโมง
- แนะนำมารดาให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและวิตามินซีสูง เพื่อส่งเสริมการหายของแผล
-
-
- ทารกเสี่ยงต่อภาวะ hypothermia
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- อธิบายให้มารดาทราบถึงภาวะ hypothermia หรือภาวะอุณหภูมิกายต่ำ ว่าเป็นภาวะเป็นภาวะแทรกซ้อน ที่พบได้บ่อยในทารกแรกเกิด อาจทำให้มีผลกระทบต่อการปรับตัวและสุขภาพของทารก เช่น ภาวะน้ำตาลในกระแสเลือดต่ำ ภาวะกรดจากการเผาผลาญโดยไม่ใช้ออกซิเจน ภาวะหายใจลำบากอย่างรุนแรง เกิดภาวะเป็นกรดในกระแสเลือด การติดเชื้อ ซึม ไม่ดูดนม ท้องอืด อาเจียน หยุดหายใจ
- บอกมารดาให้ห่อตัวทารกให้มิดชิด ต้องไม่หนาเกินไปและบางเกินไปเพราะหากหนาเกินไปอาจทำให้ทารกมีอุณหภูมิกายสูงได้
- กระตุ้นให้ได้รับนมมารดาอย่างเพียงพอ ให้ทารกดูดนมมารดา 2-3 ชั่วโมง นานข้างละ 10-15 นาที ถ้าได้รับนมไม่เพียงพอ จะเพิ่ม cuff feed 30 cc. ทุก 2-3 ชั่วโมงและขณะให้นมให้มารดาโอบกอดทารกไว้ในอ้อมแขนเพื่อเพิ่มความอบอุ่น
- ดูแลทารกให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียความร้อนได้แก่ การพา การนำ การระเหย การแผ่รังสี
5.ดูแลการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะของทารก เปลี่ยนผ้าอ้อมและเช็ดให้แห้งทุกครั้งเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน
- ติดตาม v/s ทารกโดยเฉพาะอุณหภูมิ ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อสังเกตอาการ
- ติดตามระดับความรู้สึกตัวของของทารก พร้อมที่งสังเกตอาการทางคลินิกของการมีอุณหภูมิร่างกายต่ำ เช่น เขียวตามปลายมือปลายเท้า ซึม กระสับกระส่าย ผิวหนังซีดและเย็น หายใจเร็วรับนมไม่ได้ หากมีอาการและอาการแสดงดังกล่าวให้รีบแจ้งพยาบาล
-
-
- มีโอกาสเกิดการตกเลือดหลังคลอด
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับ on 5%D/NSS 1,000 ml + Syntosinon 30 unit IV drip 100 cc/hr.
- ดูแลช่วยเหลือให้ทารกดูดนมมารดาทุก 2-3 ชั่วโมง
- ตรวจสอบดูแลสายสวนปัสสาวะ ไม่ให้สายหักพับงอ สังเกตสีและปริมาณของน้ำปัสสาวะ
- ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและคลึงมดลูกเมื่อมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
- สอนสาธิตในการคลึงมดลูกและให้มารดาสาธิตสอนกลับ
- ประเมินลักษณะสีและปริมาณของน้ำคาวปลา
- ประเมิน V/S ทุก 4 ชั่วโมง
- เน้นย้ำให้มารดาสังเกตอาการที่แสดงถึงภาวะตกเลือดหลังคลอด ได้แก่ มีก้อนเลือดออกจากช่องคลอด หน้ามืด อ่อนเพลีย ตัวซีดและเย็น
- มีภาวะ Mild preeclampsia without severe feature
ข้อมูลสนับสนุน
O : ขณะตั้งครรภ์ GA 32+2 week BP 148/90,140/90 mmHg
ตั้งครรภ์ GA 37+6 week ขณะรอคลอด BP 142/90,148/98 mmHg
-
O : on 5%DN/2 1,000 ml + 50%MgSO4 10 gm IV drip 100cc/hr.
กิจกรรมการพยาบาล
- ให้ยา on 5%DN/2 1,000 ml + 50%MgSO4 10 gm IV drip 100cc/hr. ตามแผนการรักษาของแพทย์
- จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ เพื่อให้มารดาได้นอนหลับพักผ่อนอย่างเต็มที่
- ดูแลให้นอนพักบนเตียง (Absolute bed rest) จำกัดกิจกรรม ให้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันบนเตียง
- ติดตามอาการปวดมึนศีรษะ ตาพร่ามัว เพราะเป็นอาการนำของอากการชัก
- ติดตามระดับสัญญาณชีพ ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลง
Dx. Elderly gravidarum with Mild pre-eclampsia without sever fetures with with Malposition (OPP) with ND. vacuum extraction with SGA
-