Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภูมิภาคนิยมและภูมิภาคาภิวัฒน์, นายเศรษฐพล เมืองเกษม 6113120029…
ภูมิภาคนิยมและภูมิภาคาภิวัฒน์
ภูมิภาคนิยม Regionalism
ความหมาย
พจนานุกรม : ความรู้สึกในการเป็นส่วนหนุ่งของกลุ่มประเทศที่ปรารถนาจะเป็นอิสระมากขึ้นทางการเมือง
กรมอาเซียน กระทรวงต่างประเทศ : การรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคเพื่อผลประโยชน์ ร่วมกันในการพัฒนาด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นการระดมพลังในการปกป้องเสริมสร้างความก้าหน้า ความมั่นคง สันติภาพของแต่ละประเทศในภูมิภาค
กระบวนการบูรณาการ
เคลื่อนไปสู่ความร่วมมือกันมากขึ้นระหว่างรัฐ
ค่อย ๆ เปลี่ยนถ่ายอำนาจไปสู่สถาบันเหนือชาติ
สร้างลักษณะที่เหมือนกันของค่านิยม
ความเป็นประชาสังคมโลกและการสร้างประชา
สังคมทางการเมืองรูปแบบใหม่
รูปแบบ
แบบปิด : การรวมตัวกันของประเทศในภูมิภาคและกีด กันประเทศภายนอกภูมิภาค
แบบเปิด : การรวมตัวกันของประเทศในภูมิภาคไม่มีการ กีดกันประเทศภายนอกภูมิภาค
ภูมิภาคนิยมเก่า
ก่อตั้งโดยประเทศมหาอำนาจ
เป็นกลุ่มภูมิภาคนิยมแบบปิด
เน้นด้านการเมืองและความมั่นคงเป็นหลัก ยกเว้น EU
ยึดยุโรปเป็นศูนย์กลาง
ภูมิภาคนิยมใหม่
ประเทศในภูมิภาคก่อตั้งกันเอง
มีความร่วมมือด้านอื่นนอกจากการเมืองกับ
ความมั่นคง
เป็นกลุ่มภูมิภาคแบบเปิด
ศึกษาจากทุกการรวมกลุ่มภูมิภาคหลายประเด็น
ระดับความร่วมมือ
ข้อตกลงหรือเขตการค้าเสรี ลดอุปสรรคทางการค้า
สหภาพศุลกากร กำหนดภาษี
ตลาดรวม เคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต
สหภาพทางเศรษฐกิจและการเงิน รวมกลุ่มทางการเงิน
สหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง รวมกันเป็นสหพันธรัฐสหภาพนำไปสู่การ เป็นรัฐเดียว
ภูมิภาคาภิวัฒน์
การเกิด
ตลาดของโลกขยายตัวอย่างรวดเร็ว หลังการล่มสลายของสังคมนิยม ภูมิภาคนิยมเก่าจึงเปลี่ยนเป็นภูมิภาคนิยมแบบใหม่
อำนาจรัฐลดลง บริษัทข้ามชาติมีอำนาจทางเศรษฐกิจเหนือรัฐ โดยรวมกลุ่มทำข้อตกลงลดอุปสรรคในการทำธุรกิจ
รัฐถูกผลักดันโดยเอกชนหรือเห็นผลประโยชน์
จึงเริ่มความร่วมมือในกลุ่มภูมิภาค
ความหมาย
กระบวนการความร่วมมือกันของประเทศในภูมิภาค 3 ประเทศขึ้นไป โดยภาคประชาชนหรือเอกชน เน้นทางด้านสังคมกับเศรษฐกิจ
เงื่อนไขที่จะนำไปสู่ภูมิภาคนิยมและภูมิภาคาภิวัฒน์
ประเทศไม่ติดกัน ไม่พึ่งพากัน ไม่เกิด
ประเทศไม่ติดกัน พึ่งพากัน ไม่เกิด
ประเทศติดกัน ไม่พึ่งพากัน ไม่เกิด
ประเทศติดกัน พึ่งพากัน เกิดภูมิภาคนิยมและภูมิภาคาภิวัฒน์
นายเศรษฐพล เมืองเกษม 6113120029 สาขาวิชาสังคมศึกษา กลุ่ม 1