Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การจัดการแฟ้มข้อมูล - Coggle Diagram
บทที่ 9 การจัดการแฟ้มข้อมูล
บทที่ 9 การจัดการแฟ้มข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล
แฟ้มข้อมูล คือ ชื่อของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน ซึ่งถูกบันทึกไว้ในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
แฟ้มข้อมูลถูกกำหนดโครงสร้างตามชนิดของข้อมูล
Source File คือ ลำดับของโปรแกรมย่อย และฟังก์ชั่น
Object File คือ ลำดับของไบต์ ที่จัดเรียงในบล็อคที่ตัวเชื่อมโยงของระบบเข้า
Text File คือ ลำดับของตัวอักษรที่เรียงกันในบรรทัด(หรือหน้า)
Executable File คือ ลำดับของส่วนของรหัสโปรแกรมซึ่งตัว Load โปรแกรมนำเข้ามายังหน่วยความจำและสั่งให้ทำงาน
คุณลักษณะของแฟ้มข้อมูล
ประกอบไปด้วย
ชื่อ
ตัวระบุ
ประเภท
วันเวลาของผู้ใช้
ตำแหน่ง
ขนาด
การป้องกัน
การดำเนินการกับแฟ้มข้อมูล
จะกำหนดแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมได้ต้องพิจารณาตัวดำเนินการทั้งหมดที่อยู่ในแฟ้มข้อมูล
อ่านแฟ้มข้อมูล
ที่เก็บแฟ้มข้อมูลภายในแฟ้ม
การเขียนแฟ้มข้อมูล
การลบแฟ้มข้อมูล
การสร้างแฟ้มข้อมูล
การตัดทอนแฟ้มข้อมูล
มีข้อมูลหลายส่วยที่เกี่ยวข้องกับการเปิดแฟ้มข้อมูล
การนับการเปิดแฟ้มข้อมูล
ตำแหน่งของแฟ้มข้อมูล
ตัวชี้แฟ้มข้อมูล
ตำแหน่งของแฟ้มข้อมูลบนดิสก์
สิทธิ์ในการเข้าใช้
ประเภทของแฟ้มข้อมูล
ต้องพิจารณาว่าระบบปฏิบัติการควรรู้จักและสนับสนุนแฟ้มข้อมูลประเภทไหน ต้องรู้ว่าระบบปฏิบัติการต้องการแฟ้มข้อมูลประเภทไหนที่สามารถทำงานร่วมกับแฟ้มข้อมูลในลักษณะที่เหมาะสมได้
โครงสร้างของแฟ้ม
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลจะต้องตรงกับความหมายของโปรแกรมที่ใช้งานอยู๋
โครงสร้างข้อมูล หมายถึง ลักษณะการจัดแบ่งพิกัดต่างๆ ของข้อมูลสำหรับแต่ละระเบียบในแฟ้มข้อมูลเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถรับไปประมวลผลได้ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ
เขตข้อมูล
หน่วยจองข้อมูลที่เกิดจากการนำอักขระหลายๆตัวมารวมกัน
ระเบียน
หน่วยของข้อมูลที่มีการนำเขตข้อมูลหลายๆเขต ที่มีความสัมพันธ์มารวมกัน
ไบต์
หน่วยของข้อมูลที่นำบิตหลายๆบิตมารวมกัน
แฟ้มข้อมุล
หน่วยของข้อมูลที่มีการนำระเบียนหลายๆระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน
บิต
หน่วยรับข้อมูลที่เล็กที่สุด
ฐานข้อมูล
หน่วยของข้อมูลที่มีการนำแฟ้มข้อมูลหลายๆแฟ้มข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน
โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลภายใน
ในระบบดิสก์มักมีขนาดของบล็อกที่กำหนดโดยขนาดของเซกเตอร์ การเข้าใช้พื้นที่ในดิสก์ ถูกแบ่งเป็นหน่วยของบล็อก และทุกบล็อกมีขนาดเท่ากัน โดย Physical record จะต้องตรงกับความยาวของ logical record การห่อ(Packing) จำนวนของ logical record ไปสู่ Physical block เป็นวิธีโดยทั่วไปในการแก้ปัญหานี้
การป้องกันการสูญหายของข้อมูล
ชนิดของการเข้าถึงแฟ้มข้อมูล
การป้องกันโดยการควบคุมการเข้าถึงของข้อมูลโดยการกำหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ว่ามีประเภทเป็นอะไรซึ่งเราสามารถกำหนดมันได้ โดยเครื่องแม่ข่ายจะมีประเภทในการกำหนดชนิดดังนี้
ดำเนินการเพิ่ม
ลบ
เขียน
รายการ
อ่าน
เพิ่ม
รายการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลและกลุ่ม
การกำหนดสิทธิ์นี้จะแบ่งการกำหนดค่าต่างๆออกเป็นสองส่วนหลักๆ
ส่วนของ Aro's
ส่วนของ ACOs
จำแนกสิทธิ์ของผู้ใช้ออกเป็น 3 ประเภท
กลุ่ม
คนอื่นทั้งหมด
เจ้าของ
แนวทางการป้องกันอื่นๆ
ต้องได้รับการอนุญาตให้เข้าถึง
ไม่ตั้งรหัสผ่านแบบเดียวกันกับทุกอย่าง
โครงสร้างของไดเรกทอรี่
การนำไดเรกทอรี่ไปใช้มีวิธีในการดำเนินการดังนี้
ลบแฟ้มข้อมูล
แสดงไดเรกทอรี่
สร้างแฟ้มข้อมูล
เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล
ค้นหาแฟ้มข้อมูล
การข้ามระบบแฟ้มข้อมูล
ไดเรกทอรี่ระดับเดียว
คือแฟ้มข้อมูลทั้งหมดจะถูกเก็บไว้ในไดเรกทอรี่เดียว เป็นโครงสร้างไดเรกทอรี่ที่ง่ายต่อการศึกษาและเข้าใจ
ไดเรกทอรี่สองระดับ
แต่ละผู้ใช้จะมีไดเรอกทอรี่ของตนเอง โดยจะสร้างโครงสร้างจำลองขึ้นมาสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว เมื่อผู้ใช้เริ่มงานระบบหลักถึงจะทำการค้นหา MFD จะเป็นตัวดัชนีสำหรับผู้ใช้ และแต่ละจุดจะเป็นที่ไปยังผู้ใช้แต่ละคน
การระบุชื่อแฟ้มข้อมูลไดเรกทอรี่สองระดับ เราต้องให้ทั้งชื่อของผู้ใช้และชื่อแฟ้มข้อมุลไดเรกทอรี่สองระดับสามารถมองเป็นรากต้อนไม้ ของต้นไม้คือ MFD ทายาทโดยตรงคือ UFD ทายาท UFD คือแฟ้มข้อมูลของตัวมันเอง แฟ้มข้อมูล คือ ใบไม้ ชื่อของผู้ใช้และชื่อของแฟ้มข้อมูลกำหนดเส้นทาง ในต้นไม้จากราก(MFD) สู๋ใบ(แฟ้มที่ต้องการ) ดังนั้นชื่อของผู้ใช้และชื่อไฟล์กำหนดชื่อของเส้นทาง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มในระบบมีชื่อของเส้นทาง เพื่อระบุชื่อแฟ้มข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะ
ไดเรกทอรี่ที่มีโครงสร้างแบบต้นไม้
วิธีถึงการอ้างชื่อแฟ้มข้อมูล
การอ้างชื่อแฟ้มข้อมูลแบบสัมบูรณ์
Windows หรือ MS-DOS
\user\lib\readme.doc
UNIX หรือ LINUX
/user/lib/readme.doc
การอ้างชื่อแบบสัมพันธ์
ระบบปฏิบัติการ Windows หรือ MS-DOS
\lib\readme.doc
ระบบปฏิบัติการ UNIX หรือ LINUX
/lib/readme.doc
ไดเรกทอรี่กราฟแบบไม่เป็นวงจร
การเปลี่ยนแปลงที่ทำโดยผู้ใช้คนหนึ่งควรจะทำให้คนอื่นเห็นความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ในมันที แฟ้มข้อมูลใหม่ที่ถูกสร้างโดยผู้ใช้คนหนึ่ง จะต้องปรากฎในไดเรกทอรี่ย่อยที่ใช้ร่วมกันทันทีโดยอัตโนมัติ
ข้อห้ามของการใช้แฟ้มข้อมูลหรือไดเรกทอรี่ร่วมกัน โครงสร้างแบบต้นไม้ห้ามให้มีการใช้แฟ้มข้อมูลหรือไดเรกทอรี่ร่วมกัน กราฟไม่เป็นวงจร อนุญาตให้มีการใช้ไดเรกทอรี่และแฟ้มข้อมูลร่วมกันได้
ไดเรกทอรี่แบบกราฟโดยทั่วไป
ปัญหา
มันไม่ใช่โครงสร้างที่สมบูรณ์แบบ
ความได้เปรียบ
ความสัมพันธ์ที่มีความเรียบง่ายของอัลกอริทึมที่ท่องไปในกราฟ
วิธีการเข้าถึงแฟ้มข้มมูล
วิธีเข้าถึงโดยลำดับ
เป็นเทคนิกที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อสามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล การเข้าถึงข้อมุูลหรือสื่อบางชนิด หากข้อมูลถูกเก็บอยู่ตอนปลายกว่าจะเข้าถึงข้อมูลย่อมเสียวเวลานาน
การเข้าถึงโดยตรง
การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่านก็จะเจาะจงตรงลงไปอ่านได้เลย
วิธีการเข้าถึงอื่นๆ
ตัวชี้ของแฟ้มข้อมูลนี้เหมือนกับหน้าดัชนีที่อยู่ท้ายเล่นของหนังสือ ประกอบไปด้วยตัวชี้ตำแหน่งในหลายๆส่วน เอาไว้สำหรับค้นหาข้อมูลในแฟ้มข้อมูล
ในการค้นหาครั้งแรกใช้ดัชนีและใช้ตัวชี้ในการเข้าถึงแฟ้มข้อมูล และค้นหาข้อมูลที่เราต้องการวิธีเสริมนี้เกี่ยวข้องกับการสร้างดัชนีให้แฟ้มข้อมูล