Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนะนำพื้นฐานการทำงานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ - Coggle Diagram
บทที่ 1 แนะนำพื้นฐานการทำงานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 แนะนำพื้นฐานการทำงานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
Hardware คือส่วนที่สามารถมองเห็นและสมผัสได้
หน่วยแสดงผล
ลำโพง
เครื่องฉายภาพสไลด์
จอภาพ
เครื่องพิมพ์
หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู
หน่วยรับข้อมูล
สแกนเนอร์
กล้องดิจิตอล
คีย์บอร์ด
เมาส์
ไมโครโฟน
หน่วยความจำ
หน่วยความจำหลัก
ROM
RAM
หน่วยคความจำสำรอง
ฮาร์ดดิสก์
Flash drive
Software คือชุดคำสั่งที่สั่งให้ Hardware ทำงาน
โปรแกรมประยุกต์
ภาษา C++
ภาษา JAVA
ภาษา C
ผู้ใช้ เป็นองค์ประกอบในการควบคุม แก้ไขปัญหา และพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ให้กับคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ
IOS
Open sources
Linux
Windows
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วใช้ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆแทนความหมาย
สารสนเทศ คือข้อสรุปต่างๆที่ได้จากการนำข้อมูลมาวิเคราะห์
ความหมายของระบบปฏิบัติการ
กลุ่มโปรแกรมที่ได้รับการจัดระเบียบเพื่อทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบ
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
ควบคุมการทำงานของโปรแกรมต่างๆ เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดของโปรแกรมและการใช้งานที่ไม่เหมาะสม
เป็นโปรแกรมที่ทำงานอยู่ตลอดเวลาบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เคอร์เนลเป็นโปรแกรมแก่นสำคัญของระบบปฏิบัติการ คอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ ดูแลถึงคำขอหรือประมวลผลการทำงานของ Input/Output
จัดสรรทรัพยากรให้สามารถใช้ร่วมกันได้ หากเกิดข้อผิดพลาดกับโปรแกรมหนึ่งจะต้องไม่กระทบกับส่วนอื่นๆ
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
โครงสร้างอินพุตและเอาต์พุต
การรับ-ส่งข้อมูลแบบสัมพันธ์
การรับส่งข้อมูลแบบไม่สัมพันธ์
การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง
โครงสร้างหน่วยเก็บข้อมูล
SSD : ใช้เวลาเข้าถึงน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้เลย ปัญหาการแตกกระจายของการจัดเก็บแฟ้มข้อมูลไม่มีผลต่อความเร็วของ SSD
ออปติคัลดิสก์ : ใช้เทคโนโลยี้ของแสงเลเซอร์ ทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้ดี เช่น ดีวีดี เป็นต้น
หน่วยความจำแคช : เป็นหน่วยความจำแบบ Random access ซึ่งสามารถเข้าถึงข้อมูลเร็วกว่า RAM
จานแม่เหล็ก : สามารถเก็บข้อมูลจำนวนมากและสามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรง จานแม่เหล็กใช้หลักการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ทำให้ความเร็วในการอ่านและบันทึกสูงกว่าเทปแม่เหล็ก
รีจิสเตอร์ : หน่วยเก็บข้อมูลขนาดเล็กเป็นส่วนหนึ่งของซีพียูและใช้เป็นที่เก็บข้อมูลชั่วคราว
เทปแม่เหล็ก : จะอ่านข้อมูลตามลำดับก่อนหลงตามที่บันทึกไว้
การดำเนินการของระบบคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคลัสเตอร์
: เป็นการเชื่อมต่อระบบการทำงานของกลุ่มคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
ระบบคลัสเตอร์แบบปิด
: ซ่อนระบบทั้งหมดและจะต่อผ่านเกตเวย์สู่ภายนอก
ข้อดี
มีความปลอดภัย
ข้อเสีย
แต่ละโหลดในระบบไม่สามารถช่วยกันบริหารข้อมูลจากภายนอกได้
ระบบคลัสเตอร์แบบเปิด
: ติดต่อกับระบบเครือข่ายภายนอกโดยตรง
ระบบหน่วยประมวลผลเดี่ยว
ระบบหลายหน่วยประมวล
: ปัจจุบันมีการใช้งานด้าน Graphic และ Multimedia มากขึ้น มีการประมวลผลมากขึ้นจึงเกิดปัญหาซีพียูประเมินผลไม่ทันกับข้อมูลที่ส่งมาจึงเกิดระบบหลายหนวยประมวลผลขึ้น
ประมวลผลแบบสมมาตร
: ประมวลผลโดยใช้ซีพียูมากกว่า 1 ตัว โดยแต่ละซีพียูทำงานเท่ากันและใช้ระบบปฏิบัติการเดียวกันทุกซีพียู
ประมวลผลแบบไม่สมมาตร
: ใช้ซีพีอยูมากกว่า 1 ตัว โดยมีซีพียูตัวหนึ่งเป็นตัวหลักและทำหน้าที่บริหารจัดการสรรทรัพยากร และแบ่งหน้าที่ให้ซีพียูตัวอื่นๆทำงาน
ระบบแบบกระจาย
: ระบบคอมพิวเตอร์ที่แต่ละซีพียูมีทรัพยากรเป็นของตัวเอง มีการนำคอมพิวเอตร์แต่ละเครื่องมาเชื่อมต่อกันด้วยระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์
ระบบรองรบการทำงานหลายโปรแกรม
ระบบสพูลลิ่ง
รับส่งข้อมูลโดยให้มีการถ่ายข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่มีความเร็วสูงกว่า
ระบบกลุ่มอย่างง่าย
ระบบโต้ตอบฉับพลัน
Hard Real-Time
เป็นระบบกำหนดเวลาไว้แน่นอน หากระบบไม่สามารถทำงานให้เสร็จได้ตามเวลาที่กำหนด จะเกิดปัญหาร้ายแรง
Soft Real-Time
เป็นระบบที่กำหนดเวลาไว้แน่นอนเหมือนกันแต่ถ้าระบบทำงานไม่เสร็จภายในเวลาที่กำหนดไว้จะไม่เกิดปัญหาร้ายแรงกับระบบ
ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ
ผู้ใช้ต้องเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงานทั้งหมด
ระบบแบ่งส่วนเวลา
ช่วยให้ระบบสามารถให้บริการผู้ใช้ได้หลายคนพร้อมๆกันโดยผู้ใช้แต่ละคนจะสลับกันเข้าไปใช้งานซีพียู