Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจวิเคราะห์วัตถุพยานด้วยเทคนิคอิมมูโนเนะ - Coggle Diagram
การตรวจวิเคราะห์วัตถุพยานด้วยเทคนิคอิมมูโนเนะ
ภูมิคุ้มกัน
humoral imunity
คือสารโปรตีน antibody หรือ immuno globulin
อยู่ในซีรัม จำเพาะต่อแอนติเจน
ig
ig G พบมากใช้ตรวจวัด
igA พบตัวแรกๆ
igD
igM
igE
พบทั่วร่างกาย พัฒนาจากน้ำเลือด
สร้างจาก B lymphocite
ความไวสูง จำเพาะสุง
อาศัยสารน้ำ
กำจัดสิ่งที่ไม่ดีออกจากร่างกาย
แอนติเจน
สารที่กระจุ้นให้มีการสร้างภูมิต้านทาน
ความสามารถในการเป็น
ธรรมชาติ -สารอินทรีย์ดีกว่าสารอนินทรีย์
มี hapten เป็นโทรโข่ง ช่วยกระตุ้นให้สารอินทรียฺขนาดเล็กเป็นแอนติเจนได้
โปรตีน ดีที่สุด โพลีแซกคาไรด์รองลงมา ไขมันแย่สุด
ขนาดใหญ่ดีกว่า
ความซับซ้อนมากเป็นมาก หรือหลายหน่วยย่อยก็ดีกว่า
โครงสร้าง การเปลี่ยนโครงรูปเนื่องจากการเสียสภาพเนื่องจากเอปิโทป
เอปิโธต่อเนื่อง
เอปิโธไม่ต่อเนื่อง สาเหตุจากการม้วนพับ
เอปิโฑป คือ บริเวณ เล็กของแอนติเจนที่จับกับแอนติบอดี
ประจุไม่ค่อยเกี่ยวนะ
ความแปลกปลอม-1.อัลโล สปีชีสฺเดียวกัน 2.ซีโน คนละสปีชีส์ สปีชีส์เดียวกันก็ยากตั้วเนาะ
ช่องทาง มันกจะเป็นการฉัด กินจะยากหน่อย
ปริมาณ และระยะเวลา
พันธุกรรม
แอนติบอดี
โครงสร้าง
ประกอบด้วย heavy chain light chain
polypeptide
disulfide bond
มีบริเวณจับ combining site
มีส่วน ผันแปร และ ส่วน คงที่ ส่วนคงที่ เหมือนกันในสปีชีส์
จาก เซรัม จาก พลาสมา
ชนิด
monoclonal
มีเอพิโธปเดียว จับชนิดเดียว จำเพาะเจาะจง แพงกว่า ซับซ้อน
polyclonal
มีหลาย เอพิโทป
การเตรียมเช่น ฉ๊ดโฮโมโกลบินคนให้กระต่าย กระต่ายมีภูมิ นำภูมิจากเลือดกระต่าย ไปทดลองจับกับเฮโมโกลบิน
การเรียก-rabbit anti-x antibody , mouse anti-human homoglobin antibody
เทคนิคการตรวจวัด
blotting
คือการเคลื่อนย้ายสาร macromelecule พวก นิวคลี โปรตีน จากตัวกลางเจล ไปยัง filter paper
หา antigen โดย มีการแยกด้วย electrophoresis
blot ไปยัง nitrocellulose ด้วยไฟฟ้า
ตรวจกับ anti body ที่จำเพาะโดย มีสารติดตาม radio enzyme
ขั้นตอน(direct)
1.แยกโปรตีน sds page
ย้ายโปรตีนจากเจลมายังแผ่น nitrocellulos
block ด้วย นมพร่องมันเนย albumin casein กันผล false
เติม anti ig antibody จำเพาะโปรตีน ที่สนใจ และมีฉลาก enzyme alkaline phosphatase
เติมสารเกิดปฏิกิริยากับฉลาก เกิดตะกอน โดยใช้BCIP/NBT
indirect
1-4 เหมือนเดิม
เติมanti แต่ไม่มี ฉลาก
เติม 2nd แอนติบอดี ที่ labeled with enzyme alkaline phosphatase
ซึ่งจะต้องเป็นตัวที่จำเพาะกับขาที่จับกับ แอนติเจน และเป็นสปีชีส์เดียวกัน โปรตีนต่างกันได้ขอแค่สปีชีส์เดียวกัน
อีไลซา
การยึดเกาะแอนติแจน แอนติบอดีกับจานเพลทพลาสติกโพลีสไตรีนไม่ว่องไว เป็นhydro phobic ไม่มีการแยกแบบ sds
detecter
AP alkaline phosphatase ดูได้เลย
ใช้ PNPP เกิดเป็นสารเหลือง ตรวจวัดค่าการดูดกลืนแสงสีเหลือง
HRP HORSE radish PEROXIDASE สารเรืองแสงใช้เครื่องมือ อีไลซาต้องมีเครื่องอ่าน ตระกูลผักกาด วาซาบิ
วิธีการ
direct
coating ลง เพลท บล็อกกิ้ง ใส่แอนติบอดีตรวจสอบมีฉลาก อ่านผล
indirect
ต่างคือ ใส่แอนตืบอดี1 ที่จำเพาะ แล้วเติม 2 จากสปีชีส์ เดียวกัน
sandwich
มี capture antibody มาเคลือบเพลทก่อน
เติม แอนติเจน แล้วเติมตัวที่สอง ที่มีฉลาก (direct) หรือมีอีกแบบ indirect
ประโยชน์ ตรวจแอนติเจนขนาดเล้กได้ หรือที่มันสกปรกปนเปื้อน
ข้อดีข้อเสีย direct เร็วกว่า ไม่ต้องกังวล cross react
ข้อดีข้อเสีย การเชื่อมแอนติบอดีเฉพาะเจาะจง กับเอนไซม์ยาก
competitve
แก้ปัญหาแอนติเจนเล็กมาก กรณีติดฉลากที่แอนติเจน ตัวที่ติด แข่งกับไม่ติด ให้สัญญาณผกผัน
กรณีที่ติดฉลากที่แอนติบอดี
ผสม แอนติบอดีเจาะจงกับแอนติเจนต้องการหากับสารตัวอย่าง จะเหลือแอนติบอดีขี้แพ้ที่ไม่ได้จับ
เตรียม เพลทเคลือบ แอนติเจนที่ต้องการหา
ตัวขี้แพ้จับ ล้างส่วนที่จับกันไปแล้วกับปนเปื้อนออก
เติมแอนติบอดีมีฉลาก แล้วเติมสารให้เกิดการเปลี่ยนสี