Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3, สิริกรานต์ สุทธิสมพร. (2564). การพยาบาลเด็กที่มีความพิการต…
กรณีศึกษาที่ 3
คำแนะนำในการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การติดเชื้อบริเวณทวารหนักและ colostomy
ทำความสะอาดรูทวารหนักที่ตกแต่งด้วยน้ำและสบู่อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
หากพบอุจจาระเหลวอาจจะทำให้ผิวหนังรอบแผลทวารหนักที่ตกแต่งเป็นแผลถลอกได้ควรทำความสะอาดปกติและใช้ครีมที่ป้องกันแผลถลอก (Barrier cream) หรือ mineral oil
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
.การดูแล colostomy ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล ครอบปากถุงให้กระชับไม่แน่นเกินไป สังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก 2 ชั่วโมง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
การฝึกการขับถ่าย โดยอายุที่เหมาะสมในการฝึกการขับถ่าย:18-24เดือน
ความพร้อมด้านทักษะทั่วไป
ความพร้อมด้านที่เกี่ยวกับการขับถ่าย
สามารถกลั้นปัสสาวะได้เป็นชั่วโมงหรือหลายชั่วโมง
ท้องผูก
ดูแลให้ทารกกินนมแม่ในช่วงอายุ 6 เดือนแรก
หลัง 6 เดือนไปแล้วให้เด็กกินอาหารเสริมได้ ควรเน้นผักที่มีกากใยเพื่อกระตุ้นการขับถ่าย รวมถึงให้กินน้ำร่วมด้วยช่วยให้ขับถ่ายง่ายขึ้น
การส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านร่างกาย
ด้านการเคลื่อนไหว
ในด้านพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่ในช่วง 3 เดือนแรก
จะมีรีเฟล็กแรกเกิดที่บอกถึงความสมบูรณ์ของระบบประสาท
ยกศีรษะได้ 45 องศา ชั่่วครู่
พยายามหยิบฉวยหรือคว้าของ มองตามสิ่งที่เคลื่อนไหว
คำแนะนำ
จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนคว่ำ ข้อศอกงอ
ใช้หน้าและเสียงของผู้ดูแลพูดคุยกับเด็ก ตรงหน้าเด็ก เมื่อเด็กมองตามค่อย ๆ เคลื่อนหน้าผู้ดูแลขึ้นด้านบนเพื่อให้เด็กสนใจยกศีรษะ โดยมือยันพื้นไว้ แขนเหยียดตรงและหน้าอกพ้นพื้น
ฝึกเพิ่มเติมโดยใช้ของเล่นที่มีสีสันสดใสกระตุ้นให้เด็กสนใจ และมองตา
น้ำหนักที่ควรจะเป็น
ุูุ6 กก จากสูตร (อายุ(เดือน)+9)/2
ความยาวที่ควรจะเป็น
ด้านจิตสังคม
3 เดือนแรก ทารกจะยิ้มให้กับคนคุ้นเคย ร้องไห้บอกความต้องการ ช่วงเวลาตื่นนานขึ้น
ถ้ามีคนเล่นด้วยจะส่งเสียงอืออาตอบรับ จะร้องไห้เมื่อมารดาเดินจากไป
ตามทฤษฎีของ อิริคสัน(Erikson) จะอยู่ในขั้น Trust vs Mistrust
การส่งเสริม : ควรให้ผู้ดูแลมอบความรักความเอาใจใส่ดูแล การกอด การสัมผัสอย่างอบอุ่น ให้ได้รู้จักกับสิ่งเร้าใหม่ๆ ความพอใจด้านร่างกายและอารมณ์ ทารกจะเรียนรู้และเกิดความไว้วางใจ
ด้านภาษา
3 เดือน จะเป็นการส่งเสียงในลำคอ หันตามเสียงได้
การส่งเสริม : ผู้ดูแลควรชวนลูกพูดคุยบ่อยๆ หรือการทำหน้าและปากล้อเลียนลูก เช่น การทำปากจู๋ การหาว
ด้านสติปัญญา
3 เดือน ตามทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาของเพียเจท์ (piaget) จะอยู่ในระยะประสาทสัมผัส (Sensory-moter stage) ทารกจะเรียนรู้จากรีเฟร็กที่เกิดซ้ำ เช่น การดูด
การส่งเสริม : ผู้ดูแลควรอุ้มลูกสัมผัสผิวหนัง ใช้วัสดุที่นุ่มหรือแข็งสัมผัสบริเวณฝ่ามือลูกเพื่อส่งเสริมการรับสัมผัส
ด้านจิตใจ
3 เดือน จะเข้าใจความรู้สึกพอใจ เช่น เอามือเข้าปากแล้วรู้สึกพอใจ เอื้อมมือหยิบโมบายเพราะพึงพอใจที่จะทำ
การส่งเสริม : ผู้ดูแลควรอุ้มทารก พูดคุย ทำท่าไกวเปล จะช่วยเปลี่ยนบรยากาศจากการนอนท่าเดิม และทำให้ทารกรู้สึกตื่นเต้น
ท่าให้นมบุตร
2.ท่าลูกนอนขวางบนตักแบบประยุกต์(Modified / cross
3.ท่าอุ้มลูกฟุตบอล (Clutch hold หรือ Football hold)
1.ท่าลูกนอนขวางบนตัก(Cradle hold)
4.ท่านอน (Side lying position)
วัคซีน
แรกเกิด
Bacillus Calmette Guerin; BCG
วัคซีนป้องกันวัณโรค
วัคซีนป้องกันวัณโรค
1 เดือน
Hepatitis B; HBV2
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
2 เดือน
Poliomyelitis vaccine ; OPV 1
วัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน
Rotavirus vaccine ; Rota 1
วัคซีนป้องกันโรคท้องเสียจากเชื้อโรต้า
DTP-HB-Hib1 : วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ไวรัสตับอักเสบบี และวัคซีนโรคเยื่อสมองอักเสบจากเชื้อฮิบ
4 เดือน
Poliomyelitis vaccine ; OPV 2
วัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน
Poliomyelitis vaccine ; IPV
วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด
DTP-HB-Hib2 : วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ไวรัสตับอักเสบบี และวัคซีนโรคเยื่อสมองอักเสบจากเชื้อฮิบ
Rotavirus vaccine ; Rota 2
วัคซีนป้องกันโรคท้องเสียจากเชื้อโรต้า
การทำความสะอาดเต้านม
3.ห้ามขัดถูบริเวณหัวนม อาจทำให้เกิดแผลและเกิดการอักเสบติดเชื้อได้
4.ควรซับน้ำนมที่ซึมออกมาให้แห้ง
2.งดทาครีม เพราะอาจทำให้เกิดการอุดตันต่อมน้ำมันที่ลานนมได้
5.เลือกบราที่มีขนาดพอดี
1.การทำความสะอาดเต้านมควรซับให้แห้งเสมอไม่ควรปล่อยให้เหนียวเหนอะหนะ
6.หลีกเลี่ยงยกทรงที่มีโครงเหล็ก
การเจริญเติบโตและโภชนาการ
จาก Recommended Dietary allowance (RDA)
เด็กอายุ 0-6 เดือน ควรได้รับพลังงาน อยู่ที่ 108 Kcal/kg/Day
เด็กคนนี้ปัจจุบันน้ำหนักควรจะอยู่ที่ 6 กิโลกรัม ดังนั้นควรจะได้รับพลังงาน 648 Kcal/day
แผนการรักษา 10% DW 500 ml iv rate 15 ml/hr จะได้พลังงาน 144 kcal/day
นมแม่
นมแม่มีพลังงาน 20 Kcal/oz
เด็กควรจะได้รับพลังงาน 648 Kcal/day ดังนั้นควรจะได้ 32.4 oz/day
ให้นมลูก 6-7 ครั้งต่อวัน หรือทุกๆ 3-4 ชั่วโมง
การเจริญเติบโตวัยแรกเกิด
น้ำหนักของเคส 2800 ตามเกณฑ์(เกณฑ์ 2500-3900 กรัม)
ความยาวลำตัว 49 cm
ตามเกณฑ์(เกณฑ์ 45-50 cm)
ความยาวรอบศรีษะ 35 cm ตามเกณฑ์
การซักประวัติ การตรวจร่างกายและการส่งตรวจพิเศษเพิ่มเติม
การซักประวัติ
การได้รับสารเคมี การดื่มสุรา บุหรี่ และสารเสพติด
การใช้ยา
สิ่งเเวดล้อมที่บ้าน ที่ทำงาน
ประวัติการฝากครรภ์
อายุมารดา
การขับถ่ายขณะ On Colostomy
ความรู้เบื้อต้นของผู้ดูแล
ภาวะโภชนาการ การให้นม
การตรวจร่างกาย
ฟัง Bowel sound
การตรวจพิเศษ
U/S CT MRI
CBC
DAGNOSIS
Imperforated anus (Anorectal malformations)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและยาหรือสารเคมีมารดาสัมผัสในระยะตั้งครรภ์
ชนิดตามลักษณะ
anal stenosis คือ รูทวารหนักขนาดเล็ก
membranous type คือ รูทวารหนักที่มีเยื่อบางปิด
true imperforated anus
กรณีศึกษาเป็นชนิดนี้
rectal atresia คือ ภาวะที่ rectum ไม่เปิดติดต่อกับรูทวารหนัก
แต่รูทวารหนักและกระพุ้งทวารหนักปกติ
ชนิดตามระดับความผิดปกติ
high type โดยความผิดรูปของทวารหนักโดยมีส่วนปลายสุดของลำไส้อยู่เหนือ pc line
intermediate type ส่วนปลายสุดของลำไส้ผ่านเข้ามาในแอ่งของ pelvic floor อยู่ระหว่าง pc line และ iline แต่ไม่ถึงกลุ่มกล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอก
low type ปลายสุดของลำไส้อยู่ต่ำกว่า i line จนถึงกลุ่มกล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอก
low type ปลายสุดของลำไส้อยู่ต่ำกว่า i line จนถึงกลุ่มกล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอก
พยาธิสภาพ
เกิดจากผนังกั้นระหว่างอวัยวะสืบพันธุ์ ระบบปัสสาวะ และช่องทวารหนักไม่แยกออกจากกันในช่วงสัปดาห์ที่ 6
ปัญหาทางการพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อบริเวณแผล Colostomy เนื่องจากอุจจาระปนเปื้อน
ข้อมูลสนับสนุน : มีแผล Colostomy บริเวณหน้าท้อง
เป้าหมายการพยาบาล : ไม่มีภาวะติดเชื้อบริเวณ แผล Colostomy
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการอักเสบติดเชื้อบริเวณแผล เช่น ปวด บวม แดง ร้อน
Vital sign
BT = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
RR = 25-50 bpm
HR = 100-120 bpm
WBC = 5-19.5x10^3 /µL
กิจกรรมพยาบาล
ดูแลประเมินสัญญาณชีพเพื่อติดตามการติดเชื้อ
ประเมินติดตามอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ เช่น บวม แดง ร้อน สี
ดูแลแผล Colostomy
เช็ดบริเวณแผลด้วยสำลีชุบน้ำต้มสุกหรือ 0.9% NSS
ดูแลผิวหนังรอบแผลให้แห้ง
เปลี่ยนถุงรองรับทุกครั้ง เมื่ออุจจาระมีปริมาณ 1/4 ของถุง
ล้างมือ 5 moment เพื่อลดการแพร่เชื้อ
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาดเพื่อลดการสะสมของเชื้อ
ผู้ดูแลมีความวิตกกังวลก่อนการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน : มารดาให้ข้อมูลว่ามีความวิตกกังวล
เป้าหมายการพยาบาล : ผู้ดูเเลวิตกกังวลลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ดูเเลบอกว่าวิตกกังวลลดลง ให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
สีวิตกกังวลน้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
ส่งเสริมให้ผู้ดูเเลซักถามเเละระบายความรู้สึกเกี่ยวกับความผิดปกติเเต่กำเนิดของทารก
เปิดโอกาสให้ผู้ดูแลได้ดูภาพทารกที่ได้รับการผ่าตัดระยะก่อนผ่าตัดหรือพูดคุยแลกเปลี่ยนกับผู้ดูแลทารกรายอื่น
ให้ผู้ดูแลได้สัมผัส โอบ กอด และดูแลทารก เพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในครอบครัว
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน : มีการผ่าตัด Posterior sagittal anorectoplasty
เป้าหมายการพยาบาล : ผู้ป่วยมีความพร้อมในการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
ด้านจิตใจ
อธิบายข้อมูลให้ผู้ดูแลเกี่ยวกับข้อมูลการผ่าตัดและการปฏิบัติตัว
สร้างสัมพันธภาพโดยการ อุ้ม โอบกอดแลัสัมผัส
ด้านร่างกาย
ดูแลให้ผู้ดูแลเซ็นใบยินยอม
ตรวจสอบชื่อ นามสกุล HN ให้ถูกต้อง
เตรียมความสะอาดของบริเวณ Anus
งดน้ำงดอาหารอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
ดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษา 10% DW 500 ml IV rate 15 ml/hr
ประเมินสัญญาณชีพและลงบันทึกก่อนผู้ป่วยไปห้องผ่าตัด
หลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อภาวะ Bleeding หลังจากการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน : มีแผล Posterior sagittal anorectoplasty (PSARP)
เป้าหมายการพยาบาล: ไม่เกิดภาวะBleeding
เกณฑ์การประเมินผล
อาการเเละอาการเเสดงเช่น ซีด ตัวเย็น ซึม เกิดเมื่อมีการเสียเลือดมากกว่าร้อยละ 30 หรือในราว 20 มล .ต่อ/กก.น้ำหนักตัวขึ้นไป
Vital sign ปกติ
BT = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
RR = 25-50 bpm
HR = 100-120 bpm
BP = 70-95/50-60 mmHg
HCt = 43.4-56.1 %
Hb = 14.7-18.6 g/dl
Urine Output : 1-3 cc/kg/hr
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและติดตามสัญญาณชีพเพื่อประเมินภาวะ Bleeding
สังเกตลักษณะแผลและปริมาณสิ่งคัดหลั่งต่างๆที่ออกจากร่างกายผู้ป่วยโดยเฉพาะการสูญเสียเลือดจากแผลผ่าตัดเบิกทวาร
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 10% DW 500 ml IV rate 15 ml/hr.ตามแผนการรักษา
ดูแลจัดท่าให้เด็กเหยียดขา ไม่กางขาเพื่อป้องกันแผลฉีดขาด
ประเมิน Urine Output ให้ออก 1-3 cc/kg/hr หากน้อยกว่าเกณฑ์ให้รายงานแพทย์
มีภาวะปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อถูกทำลายจากการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน : แผลPosterior sagittal anorectoplasty (PSARP)
เป้าหมาย : ทารกสุขสบาย ปวดแผลผ่าตัดลดลง
เกณฑ์การประเมินผล :
สีหน้าสุขสบายขึ้น นอนหลับพักผ่อนได้ ไม่ร้องกวน
คะแนนความปวดลดลง
Vital sign ปกติ
BT = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
RR = 25-50 bpm
HR = 100-120 bpm
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความปวดโดยเลือกใช้ Neonatal Infant Pain Scale(NIPS)
ประเมินสัญญาณชีพ
บรรเทาอาการปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ปลอบโยนเด็ก
ดูแลจัดท่านอน หรือจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ให้ผู้ดูแลได้มีส่วนร่วมในการควบคุมบรรเทาความเจ็บปวด
Oral sucrose/glucose
Non-nutritive sucking
3.การห่อตัวและการจัดท่าให้แขนขาเข้าหาลำตัว(swadling and containment)
Skin-to-skin contact, Kangaroo care
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด เนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ
ข้อมูลสนับสนุน : แผลPosterior sagittal anorectoplasty (PSARP)
เป้าหมายการพยาบาล : ไม่มีภาวะติดเชื้อบริเวณแผล Posterior sagittal anorectoplasty (PSARP)
เกณฑ์การประเมินผล
BT = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
RR = 40-60 bpm
HR = 120-160 bpm
WBC : 5-19.5x10^3 /µL
ไม่มีอาการอักเสบติดเชื้อบริเวณแผล เช่น ปวด บวม แดง ร้อน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและติดตามสัญญาณชีพเพื่อเฝ้าระวังภาวะติดเชื้อ
ติดตามอาการของการติดเชื้อ เช่น แผลบวม แดง ร้อน มีสารคัดหลั่งไหลซึมจำนวนมาก
ทำความสะอาดแผลเพื่อป้องกันการติดเชื้อโดย การทำความสะอาดและใช้ Batadine ทำความสะอาดหลังขับถ่ายอุจจาระ
ดูแลให้ได้รับยา Metronidazole 20 mg IV drip q 12 hr
ดูแลไม่ให้มีการสะสมของอุจาระปัสสาวะเพื่อลดการสะสมของเชื้อ
เสี่ยงต่อการตีบแคบของรูทวารหนัก
ข้อูลสนับสนุน: Posterior sagittal anorectoplasty (PSARP)
เป้าหมายการพยาบาล: ไม่เกิดภาวะตีบตันของรูทวารหนัก
เกณฑ์การประเมินผล
สามารถขับถ่ายทางรูทวารได้
กิจกรรมการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
การทำ anal dilation หลังผ่าตัด 2 สัปดาห์ โดยการทำด้วยเทียนไขหรือแท่งสบู่ เริ่มจากขนาดเล็ก 7-10 mm ขึ้นอยู่กับอายุของเด็ก โดยทําวันละ 2 ครั้ง เพิ่มขนาดทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 mm จนกว่าจะได้ขนาดที่เหมาะสมในแต่ละ อายุ โดยปกติใช้เวลา 6-9 เดือน
สิริกรานต์ สุทธิสมพร. (2564). การพยาบาลเด็กที่มีความพิการตั้งแต่กำเนิด. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-331 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1
จันทร์จุรีย์ ถือทอง. (2564). การประเมินและการส่งเสริมการเจริญเติบโต พัฒนาการทั้งเด็กปกติและเบี่ยงเบน. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-331 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
ธิดารัตน์ เอกศิรินิมิตร. (2564). การประเมินภาวะสุขภาพในทารกและเด็ก. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-331 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
จุฬาวรรณ วิสภา. (2564). ภาวะโภชนาการของทารก เด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาไม่ซับซ้อน. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-331 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
Pain managment การจัดการความปวดในเด็ก(2020) สิบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2564 จาก
http://www.med.swu.ac.th/msmc/nicu/images/ward/doc/Pain_Management.pd
Siriphut Kiatipunsodsai,MD.(2020) ANORECTAL MALFORMATION สิบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2564 จาก Anorectal-malformation.pdf