Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคที่เกิดจากเชื้อราเบื้องต้น - Coggle Diagram
โรคที่เกิดจากเชื้อราเบื้องต้น
กลากที่ผิวหนัง(dermatophytosis)
เป็นวง ขอบยกนูนชัดเจน เป็นขุย คันเด่น
เกิดจากการติดเชื้อ Tricophyton spp. (เกิดมากสุด), Microsporum spp,etc.
กลากที่หนังศีรษะ (Tinea capitis)
เป็นโรคติดเชื้อราที่หนังศีรษะและเส้นผม
แบบที่ไม่มีการอักเสบ : จะพบเส้นผมหักสั้น แหว่ง หรือร่วงเป็นหย่อมๆ อาจพบขุยหรือสะเก็ดสีขาว หรือสีแดงรอบเส้นผมและที่หนังศีรษะ ลักษณะเป็นผื่นราบขนาดใหญ่
แบบที่มีการอักเสบ : จะเริ่มจากรูขุมขนอักเสบ เป็นตุ่มหนองที่โคนผมและขยาขนาดขึ้น ในรายการที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ จะมีการอักเสบรนแรงกลายเป็น ชันนะตุ(kerion) ซึ่งเมื่อหายแล้วจะกลายเป็นแผลเป็นและสูญเสียผมบริเวณนั้้นอย่างถาวร
กลากที่ลำตัว (Tinea corporis or ringworm)
เป็นโรคติดเชื้อราที่ผิวหนัง มักมีอาการคัน ลักษณะผื่นที่พบบ่อยมี 2 แบบ คือ รอยโรคคล้ายวงแหวนมีขอบชัดเจน(anular lesion with active border) เป็นวงนูนแดงงที่มีขอบชัด ตรงกลางมีลักษณะเหมือนผิวหนังปกติ และแบบที่สอง คือ ผื่นนุนแดง มีขุยหรือสะเก็ดหนาปกคลุม (papulosquamous lesion)
การรักษา
ยาทาภายนอก
imidazole cream ทาวันละ 2 ครั้ง นาน 2-4 สัปดาห์
2% Miconazole cream ทาวันละ 2 ครั้ง นาน 4-6 สัปดาห์ หรือจนกระทั่งรอยโรคหายไปและทาต่ออีก 2 สัปดาห์
Terbinafine ทาวันละ 2 ครั้ง นาน 2-4 สัปดาห์
Ciclopirox ทาวันละ 2 ครั้ง นาน 2-4 สัปดาห์
Tonaftate ทานละ 2 ครั้ง นาน 2-4 สัปดาห์
ยาชนิดรับประทาน
Fluconazole
ผู้ใหญ่ : 150-200 มก./สัปดาห์ นาน 2-4 สัปดาห์
เด็ก : 6 มก./กก./วัน นาน 2-4 สัปดาห์
Itraconazole
ผู้ใหญ่ : 200-400 มก./วัน นาน 1 สัปดาห์
เด็ก : 5 มก./กก./วัน นาน 1 สัปดาห์
กลากที่เท้า (Tinea pedis)
เรียกอีกอย่างว่า Athlete's foot มักเป็นการติดเชื้อราและแบคทีเรียร่วมกัน มีลักษณะเป็นขุยเปื่อยยุ่ยสีขาวบริเวณตามซอกนิ้วเท้า และมีอาการคันมาก บางรายอาจเป็นตุ่มน้ำใสหรือเป็นขุยลอกเรื้อรังที่ฝ่าเท้า
กลากที่มือ (tinea manum)
มักพบเป็นผื่นมีขุยแห้งสีขาวร่วมกับผิวหนังหนาขึ้น มักเป็นบนฝ่ามือข้างเดียวที่บริเวณ palmar creases หรือกระจายทั่วไปบนฝ่ามือ เป็นวงขนาดเล็ก ผื่นไม่ค่อยแดง
กลากที่ขาหนีบ (tinea Cruris) หรือสังคัง (Jock Itch)
มักพบการรอยโรคบริเวรหัวหน่าวหรือต้นขาทั้งสองข้าง
มีลักษระเป็นปื้นนูนแดงมีขอบชัดเจน อาจเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล
ผู้ป่วยจะมีอาการคันมากเมื่อเกาจะทำให้ผิวหนังหนาขึ้นได้ และผิวหนังจะเปื่อยแฉะ
กลากที่เล็บ(onychomycosis)
มีขุยและการหนาตัวของพื้นเล้บจนแผ่นเล้บแยกจากพื้นเล็บ (onycholysis)
ใต้เล็บมีการเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองหรือสีเข้มขึ้น ผิวเล็บไม่เรียบ เกิดการผุทำให้เสียรุป เล็บบางลง และฝ่อไปในบางราย หรือเป็นปื้นขาว ขอบเขตชัดเจนบนผิวเล็บ
การรักษา
ยาทาภายนอก
5% amorolfine nail lacquer ทาสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง นาน 6-12 เดือน
8% ciclopirox lacquer ทาวันละครั้ง นาน 48 สัปดาห์ (ไม่มีในไทย ในไทยเป็น 1% ciclopirox)
28% tioconazole solution ทาวันละ 2 ครั้ง นาน 6-12 เดือน
4.การถอดเล็บโดยใช้ยา 40 % urea,20% salicylic acid หรือการผ่าตัด
ไม่แนะนำให้ใช้ยาทา
ไม่แนะนำให้ถอดเล็บ
ยาชนิดรับประทาน
Itraconazole
ผู้ใหญ่ : - 200 มก./วัน 6 สัปดาห์
200 มก./วัน 12 สัปดาห์
400 มก./วัน 1 สัปดาห์/เดือน ติดต่อกัน 2 รอบ (มือ) 3-6 รอบ (เท้า)
400 มก./วัน 1 สัปดาห์/เดือน ติดต่อกัน 2 รอบ (มือ) 3 รอบ(เท้า)
เด็ก : - <20 กก. (5 มก./กก./วัน) 20-40 กก. (100 มก./วัน)
40-50 กก. (200 มก./วัน) >50 กก. (400 มก./วัน) 1 สัปดาห์/เดือน ติดต่อกัน 2 รอบ (มือ) 3 รอบ (เท้า)
5 มก./กก./วัน 1สัปดาห์/เดือน ติดต่อกัน 2 รอบ (มือ) 3 รอบ (เท้า)
กลากที่หน้า (Tinea faciei)
เป็นกลากที่มีอาการอักเสบแดงมากกว่าบริเวณอื่น
หากเป็นกลากที่เครา (Tinea barbae) จะพบตุ่มหนองหรือตุ่มน้ำได้ และมักมีสะเก็ดเนื่องจากมีการอักเสบของขุมขน