Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ( ยาพัฒนามาจากสมุนไพร ) - Coggle Diagram
ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
( ยาพัฒนามาจากสมุนไพร )
ยารักษากลุ่มอาการ
ของระบบทางเดินอาหาร
ยาขับลม บรรเทาอาการ
ท้องอืด ทองเฟ้อ
ขมิ้นชัน
(Tumeric)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา : เพิ่มการสร้างและหลั่งน้ำดี เพิ่มการบีบตัวของถุงน้ำดี ขับลม ย่อยอาหาร ลดเกร็งในกระเพาะอาหารและลำไส้
อาการไม่พึงประสงค์ : ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ เช่น ผื่น ลมพิษ
สารสำคัญ : curcuminoids and น้ำมันหอมระเหย
ขิง
(Ginger)
สารสำคัญ : shogaols and gingerols
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา : กระตุ้นการทำงานและเพิ่มการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้
อาการไม่พึงประสงค์ : แสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร ระคายเคืองบริเวณปากและคอ
ยาธาตุอบเชย
สูตรตำรับประกอบด้วย เปลือกอบเชยเทศ สมุนไพรอื่นๆ เช่น การบูร
ข้อบ่งใช้ : ขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ข้อควรระวัง : ระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ป่วยไต ตับ
ยาบรรเทาอาการท้องผูก
มะขามแขก
(Alexandrin Senna)
สารสำคัญ : anthraquinone glycosides
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา : เมื่อรับประทานจะทำปฏิกิริยากับแบคทีเรียในลำไส้ ได้สารที่มีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท เพิ่มการเคลื่อนไหวของลำไส้และลดการดูดน้ำในลำไส้ ช่วยให้อุจจาระอ่อน
อาการไม่พึงประสงค์ : ปวดมวนท้อง ผื่นคัน
ยาป้องกันและบรรเทาคลื่นไส้อาเจียน
ขิง
(Ginger)
ฤทธิ์ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน เป็นผลจากขิงมีฤทธิ์ยับยั้ง 5-HT3 receptors
ยารักษากลุ่มอาการ
ของระบบทางเดินหายใจ
ยาบรรเทาอาการหวัด
ฟ้าทะลายโจร
(Andrographis)
สารสำคัญ : andrographolide
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียบางชนิด
ลดการอักเสบ
ต้านไวรัสหลายชนิด
ลดอาการของโรคหวัด -> ลดอาการเจ็บคอ อ่อนเพลีย น้ำมูกไหล
ลดไข้
อาการไม่พึงประสงค์ : อาจผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียน ใจสั่น
ยาบรรเทาอาการไอ
ตรีผลา
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
อาการไม่พึงประสงค์
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
สมอ -> ช่วยให้หลอดลมคลายตัว
สมอไทย -> ยาระบายอ่อน ๆ , ต้านอนุมูลอิสระ
มะขามป้อม -> กระตุ้นการหลั่งเมือกในทางเดินหายใจ,
ลดการกระตุ้นที่ cough receptor, ยาระบายอ่อนๆ
ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการไอ ลดอาการระคายคอ ขับเสมหะ
ข้อควรระวัง : ผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย ->มะขามป้อมมีฤทธิ์เป็นยาระบาย
การเกิดปฏิกิริยาต่อกัน
ระหว่างสมุนไพรกับยา
Warfarin, aspirin -> มีโอกาสเลือดออกง่ายและแข็งตัวช้า
ยาประสะมะแว้ง
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ทำให้ชุ่มคอ
การเกิดปฏิกิริยาต่อกัน
ระหว่างสมุนไพรกับยา
Warfarin, aspirin -> มีโอกาสเลือดออกง่ายและแข็งตัวช้า
ยารักษากลุ่มอาการ
ทางกล้ามเนื้อและกระดูก
ยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
เถาวัลย์เปรียง
สารสำคัญกลุ่ม isoflavonoids and scandenin
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา : ต้านการอักเสบโดยยับยั้งเอนไซม์ cyclooxygenase (COX) and lipoxygenase (LOX)
อาการไม่พึงประสงค์ : ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อยคอแห้ง
ใจสั่น เวียนศีรษะ อุจจาระเหลว
ยาสหัศธารา
ข้อบ่งใช้ : ขับลมในเส้น โรคลมกองหยาบ โรคลมในเส้น มือเท้าชา
อาการไม่พึงประสงค์ : ร้อนท้อง แสบท้อง คลื่นไส้ คอแห้ง ผื่นคัน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา : แก้ปวด ต้านการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระ
ไพล
สารสำคัญมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดยยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ cyclooxygenase (COX) and lipoxygenase (LOX)
ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการบวม เคล็ดขัดนอก ฟกช้ำ
พริก
(Chili pepper)
สารสำคัญ : capsaicin
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา : กระตุ้นตัวรับบริเวณปลายประสาท
รับความรู้สึก
อาการไม่พึงประสงค์ : ผิวหนังแดง ปวด และแสบร้อน
ยารักษากลุ่มอาการ
ทางระบบผิวหนัง
ยารักษาโรคเริมและงูสวัด
พญายอ
มีฤทธิ์ต้านไวรัส Herpes simplex virus type 1 and type 2
ข้อบ่งใช้
ยาครีม บรรเทาอาการของเริมและงูสวัด
สารละลาย (สำหรับป้ายปาก) รักษาแผลในปาก
ยาโลชั่น บรรเทาอาการผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน
ยาขี้ผึ้ง บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวมจากแมลงกัดต่อย
ทิงเจอร์ บรรเทาอาการเริมและงูสวัด
ยารักษาแผลไฟไหม้
น้ำร้อนลวก
ว่านหางจระเข้
ลดการอักเสบและเพิ่มการเจริญทดแทนของเนื้อเยื่อบริเวณแผล
อาการไม่พึงประสงค์ : อาจมีอาการคัน ผื่นแดง หรือผื่นแพ้สัมผัส
สารสำคัญ : aloctin A
ยาสมานแผล
ยาครีมบัวบก
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง
ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยี่หร่า ผักชี
ห้ามใช้ในแผลเปิด
อาการไม่พึงประสงค์ : อาจทำให้เกิดผื่นแพ้สัมผัส
ยารักษาอาการอื่นๆ
ยาลดความอยากบุหรี่
หญ้าดอกขาว
ผลิตภัณฑ์ชาหญ้าดอกขาว : มีฤทธิ์ทำให้บิ้นฝาดหรือชา ลดความอยากบุหรี่และเมื่อสูบบุหรี่หลังจากดื่มชาหญ้าดอกขาว
จะรู้สึกคลื่นไส้อาเจียน
อาการไม่พึงประสงค์ : ปากแห้ง คอแห้ง
ยาถอนพิษเบื่อเมา
ยารางจืด
ข้อบ่งใช้ : ถอนพิษไข้ แก้ร้อนใน ถอนพิษเบื่อเมา
กัญชา
สารสำคัญ : 9-tetrahydrocannabinol and Canna
กลุ่มที่ได้ประโยชน์
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบำบัด
โรคลมชักที่รักษายากและโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง
ภาวะปวดประสาท
กลุ่มที่น่าจะได้ประโยชน์
โรคพาร์กินสัน
โรคอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
โรควิตกกังวลไปทั่ว
ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลประคับประคอง
โรคปลอกประสาทอักเสบ
กลุ่มที่อาจจะได้ประโยชน์
(ในอนาคต)
โรคมะเร็ง
อาการข้างเคียง
มึนเวียนศีรษะ
เสียความสมดุล
หัวใจเต้นช้า
ความดันโลหิตผิดปรกติ
สับสน
กระวนกระวาย
วิตกกังวล
ประสาทหลอน
โรคจิต
จัดเป็นสารเสพติดให้โทษประเภทที่ 5