Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การจัดบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ - Coggle…
บทที่ 8
การจัดบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ
แนวคิดทางด้านการจัดการในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ปัจจัย 3 ประการ ซึ่งผลักดันให้มีการนำแนวคิดพื้นฐานด้านการจัดการมาใช้ในงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ปัจจัยทางด้านการเมืองทั้งภายในและนอกประเทศ
ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านสังคม รวมไปถึงปัจเจกบุคคล และความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคม
ประเภทของการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การจัดบริการตามกฎหมาย หมายถึง การจัดบริการหรือสวัสดิการตามที่กฎหมาย กำหนดให้นายจ้างต้องดำเนินการจัดหาให้กับลูกจ้าง
ห้องพยาบาล การบริการทางการแพทย์
ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
น้ำดื่มสะอาด ห้องน้ำ ห้องส้วม
การตรวจสุขภาพประจำปี
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม
การจัดบริการนอกเหนือที่กฎหมายกำหนด หมายถึง สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ หรือการบริการที่นายจ้างจัดให้เป็นสวัสดิการที่อยู่นอกเหนือจากข้อกำหนดของกฎหมาย
เงินช่วยเหลือพิเศษ เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ
โบนัส เบี้ยเลี้ยง เบี้ยขยัน
รถรับส่งพนักงาน ที่อยู่อาศัย ชุดพนักงาน
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อาหารกลางวัน การศึกษาต่อ การพัฒนาภาษา
การจัดสัมมนานอกสถานที่ กิจกรรมนันทนาการและกีฬา ส่วนลดในการซื้อผลิตภัณฑ์ของบริษัท
การจัดสวัสดิการในสถานประกอบการตามกฎหมายไทย กฎหมายนี้ออกตาม พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กำหนดให้นายจ้างต้องดำเนินการจัด สวัสดิการให้กับลูกจ้าง ดังนี้
การจัดบริการห้องน้ำและห้องส้วม
การจัดบริการด้านการปฐมพยาบาลและการรักษาพยาบาล
การจัดบริการน้ำดื่มสะอาด
หลักการจัดบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการประกอบด้วย 8 องค์ประกอบในการดำเนินงาน
การนำไปปฏิบัติ(Implementation)
การประเมิน (Evaluation)
การวางแผน (Planning)
การดำเนินการปรับปรุง (Evaluation)
การจัดการ (Organizing)
การตรวจสอบ (Improvement)
นโยบาย (Policy)
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)
ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ทำให้เกิดความปลอดภัยแก่พนักงานในสถานประกอบการ
ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากอุบัติเหตุและโรคจาการทำงาน
แสดงถึงความห่วงใย จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบของนายจ้างที่มีต่อลูกจ้าง
ลดการกีดกันทางการค้า และสามารถขายสินค้าได้ในระดับสากล
พนักงานเกิดความจงรักภักดีกับองค์กร ไม่เปลี่ยนงานหรือย้ายงานบ่อย
ได้พนักงานที่มีคุณภาพเนื่องจากสามารถใช้สวัสดิการเป็นแรงจูงใจ
เป็นการจูงใจพนักงานให้ปฏิบัติงานด้วยความรัก และเต็มใจในการปฏิบัติงาน
เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบการ
ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการตรวจความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมการควบคุมอันตรายจากการทำงาน
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเหตุฉุกเฉิน
กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการประชุมด้านความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมความปลอดภัยนอกงาน
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมด้านความปลอดภัยอื่น ๆ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการจัดทำเอกสารส่งทางราชการ