Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผน การจัดทำแผนยุธศาสตร์ - Coggle Diagram
การวางแผน การจัดทำแผนยุธศาสตร์
เครื่องมือวิเคราะห์สถานการกลยุทธ์
PESTEL
P – Politic : ปัจจัยทางนโยบายและการเมือง
E – Economic : ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
S – Social : ปัจจัยทางสภาพสังคม และสุดท้าย
T – Technology : ปัจจัยทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ
L – Legal : ข้อกฎหมายต่างๆ ของพื้นที่นั้นๆ ที่เราต้องศึกษาเป็นอย่างดี
E – Environment : หรือปัจจัยทางสภาพแวดล้อม
VUCA
V- Volatility ความผันผวน ยากจะคาดเดา เป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันไม่ทันตั้งตัว
U-Uncertainty มีความไม่แน่นอนสูง ไม่ชัดเจน ยากจะอธิบาย
C-Complexity มีความซับซ้อนสูง มีปัจจัยมากมายที่ต้องนำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ
A-Ambiguity มีความคลุมเครือ เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน ยากจะคาดเดาผลลัพธ์ได้
7 Smckinsey
Structure (โครงสร้างองค์กร)
Strategy (กลยุทธ์)
Staff (การจัดการบุคคลเข้าทำงาน)
(Managerial) style (รูปแบบ)
System (ระบบ)
Shared value (ค่านิยมร่วม)
Skill (ทักษะ)
ฺBCG
Cash Cows คือ สินค้าที่มีอัตราการเจริญเติบโตต่ำ แต่มีส่วนแบ่งการตลาดสูง
Stars คือ สินค้าที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูง และมีส่วนแบ่งการตลาดสูง
Question Marks คือ สินค้าที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูง แต่มีส่วนแบ่งการตลาดต่ำ เป็นสินค้าที่ยังไม่ทำรายได้ให้กับธุรกิจมากนัก แต่สามารถขายได้เรื่อยๆ
Dogs คือ สินค้าที่มีอัตราการเจริญเติบโตต่ำ และส่วนแบ่งการตลาดต่ำ
TOWS
กลยุทธ์เชิงรุก (SO)เป็นการจับคู่ระหว่าง Strength และ Opportunity (ใช้จุดแข็งร่วมกับโอกาส)
กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO)
เป็นการจับคู่ระหว่าง Weakness และ Opportunity (ใช้โอกาสลดจุดอ่อน)
กลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST)
เป็นการจับคู่ระหว่าง Strength และ Threat (ใช้จุดแข็งรับมืออุปสรรค)
กลยุทธ์เชิงรับ (WT)
เป็นการจับคู่ระหว่าง Weakness และ Threat (แก้ไขจุดอ่อนและเลี่ยงอุปสรรค)
SIPOC
I – Input ปัจจัยนำเข้า
P – Process กระบวนการทำงาน
S – Supplier บุคคล/ส่วนงานที่ให้ปัจจัยนำเข้า
O – Output ผลลัพธ์
C – Customer ผู้รับบริการ
Bnchmarking
การวางแผน (Planning)
การวิเคราะห์ (Analysis)
การบูรณาการ (Integration)
การปฏิบัติ (Action)
การติดตามประเมินผล
KPI
Performance: ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือ ผลของการกระทำ
Key: จุดหลัก หัวข้อหลัก หรือ เป้าหมายหลัก
Performance: ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือ ผลของการกระทำ
BSC
1.Customer Perspective : ลูกค้าเห็นเราอย่างไร?
2.Financial Perspective : มุมมองทางการเงิน
3.Internal Processes Perspective : เราเก่งอะไร
4.Learning and Growth Perspective : มุมมองความสามารถขององค์กร
monitoring and measurement
เครื่องบริหารจัดการ (กระบวนการ
TUNA MODEL
ส่วนหัวปลา (Knowledge Vision : KV)ส่วนที่เป็นเป้าหมาย
ส่วนกลางลำตัว (Knowledge Sharing : KS) เป็นส่วนกิจกรรม
ส่วนที่เป็นหางปลา (Knowledge Assets : KA) เป็นส่วนการจดบันทึก
KM
การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification)
การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)
การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access)
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)
การเรียนรู้ (Learning)
PDCA
PDCA คือวงจรบริหารงานคุณภาพ
PDCA สามารถประยุกต์ใช้กับองค์กรทุกประเภท
C – Check ประเมินและสรุปผล
A – Act ปรับปรุงแก้ไขและวางแผนใหม่ต่อไป
TQM
การมุ่งเน้นที่การสร้างความพึงพอใจตามที่ลูกค้าต้องการ
การปรับปรุงกระบวนการ
พนักงานทุกคนในองค์กรจะต้องมีส่วนร่วม
การประสมประสานกิจกรรม
มีการวัดผลที่ถูกต้อง
POSDCORB
Planning (การวางแผน)
Organizing (การจัดองค์การ)
Staffing (การบรรจุ)
Directing (การสั่งการ)
Co-ordinating (การประสานงาน)
Reporting (การรายงาน)
Budgeting (การจัดทำงบประมาณ)
วิเคราะห์ความเสี่ยง ๒ ลักษณะ ๕ ขั้นตอน
COSO
สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment)
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)
ข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสารในองค์กร (Information and Communication)
การติดตามและประเมินผล (Monitoring)
quantitative risk analysis
Risk Assessment (การประเมินความเสี่ยง)
ระดับของความเสี่ยง (Risk Level)
Threat ( ภัยคุกคาม)
Vulnerability ( จุดอ่อน)
Risk Treatment (การควบคุม / แก้ไขความเสี่ยง)
การลดความเสี่ยง (Risk Reduction)
การยอมรับความเสี่ยง ( Risk Acceptance)
การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance
การโอนความเสี่ยง (Risk Transfer)
Qualitative Risk Assessment
ความเสี่ยงยังคงคำนวณจากความรุนแรงของอันตราย x โอกาสที่จะเกิดอันตราย การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพเกี่ยวข้องกับการตัดสินอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับผลที่ตามมา (ความรุนแรง) และความน่าจะเป็น (ความเป็นไปได้)
การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ ผู้ประเมินจะจัดประเภทความเสี่ยงออกเป็นระดับสูง, ปานกลาง หรือต่ำ การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ ควรเป็นการตรวจสอบอย่างเป็นระบบว่าสิ่งใดในสถานที่ทำงาน อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้คน
การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ จะพิจารณาถึงความเสี่ยงของผู้ที่ได้รับบาดเจ็บว่าอยู่ในระดับสูง ปานกลาง หรือต่ำ