Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ - Coggle Diagram
โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
โรคหัวใจวาย
ภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจสูญเสียการทำงานจนไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกายได้ เกิดได้ในคนทุกวัย แต่มักจะพบบ่อยในคนสูงอายุ โดยเฉพาะในเพศชาย
-
-
การรักษาหัวใจวาย
-
การใช้ยา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ต้องใช้ยาในการรักษาอาการ และอาจใช้ยาหลาย ๆ ตัวร่วมกันเพื่อควบคุมอาการและลดความเสี่ยง ซึ่งยาที่แพทย์มักสั่งจ่ายให้ผู้ป่วย
-
-
โรคมะเร็งตับ
เกิดขึ้นเมื่อเซลล์บริเวณตับมีลักษณะ หรือ
การทำงานผิดปกติแล้วพัฒนาเป็นมะเร็งในที่สุด
หรือ อาจเกิดจากการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง
จากบริเวณอื่นมายังตับก็ได้
-
การรักษาโรคมะเร็งตับ
-
-
-
-
การให้ยาเจาะจงเซลล์มะเร็ง (Targeted Drug Therapy) เป็นวิธีการใช้ยาเพื่อชะลอหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งตับ
การป้องกันโรคมะเร็งตับ
การดื่มแอลกอฮอล์ให้พอดี หมั่นออกกำลังกาย
ควบคุมน้ำหนักไม่ให้มากเกินไปโดยรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
และลดปริมาณไขมันที่บริโภค รวมทั้งระมัดระวังการใช้สารเคมีที่อาจเป็นอันตรายและเสี่ยงต่อโรคตับแข็งตามมา
ไตวายเรื้อรัง
ภาวะที่มีการทำลายเนื้อไตช้าๆ อย่างต่อเนื่อง
ระยะเวลาหนานเป็นเดือนหรือเป็นปี เป็นการทำลายถาวร
ทำให้ไตค่อยๆ มีขนาดเล็กลง ไตไม่สามารถฟื้นมาทำหน้าที่ได้ปกติ
ดูได้จากค่าอัตราการกรองของไตที่ผิดปกติ มากกว่า 3 เดือน ขึ้นไป
-
อาการแสดงเมื่อเป็นโรคไต
-
-
ปัสสาวะผิดปกติ เช่น ปัสสาวะเป็นฟอง, ปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ำล้างเนื้อ, ปัสสาวะบ่อย
-
-
โรคหลอดเลือดสมอง
เกิดจากภาวะ
เกิดจากภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง เพราะมีการอุดตันของเส้นเลือดที่นำเลือดไปเลี้ยงสมองส่วนต่างๆ ส่งผลให้สมองขาดเลือด อยู่ในภาวะที่ทำงานไม่ได้ กลายเป็น “โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน”
-
-
-
-
โรคซิฟิลิส
เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
ทำให้เกิดผื่นหรือแผลตามผิวหนัง
และอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ร้ายแรงขึ้นหากไม่รักษา
อาการของซิฟิลิส
ระยะที่ 1 (Early/Primary Syphilis) จะเกิดแผลขนาดเล็กบริเวณที่ได้รับเชื้อ ก้นขอบแผลมีลักษณะเรียบและแข็งที่เรียกว่า แผลริมแข็ง
ระยะที่ 2 (Secondary Stage) โรคจะเริ่มพัฒนาจากระยะแรกใช้เวลาประมาณ 1-3 เดือน ผู้ป่วยจะเริ่มเกิดผื่นที่มีลักษณะตุ่มนูนคล้ายหูดขึ้นตามบริเวณฝ่ามือและฝ่าเท้า อวัยวะเพศ หรือส่วนอื่นของร่างกาย
ระยะที่ 3 (Tertiary Syphilis) หากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องจะทำให้โรคพัฒนามาจนถึงระยะสุดท้ายที่ก่อให้เกิดความผิดปกติและภาวะแทรกซ้อนที่หัวใจ สมอง เส้นประสาท หรืออวัยวะหลายส่วนของร่างกายเมื่อเชื้อไปอยู่ในบริเวณนั้น ซึ่งจะนำไปสู่โรคต่าง ๆ
การรักษาซิฟิลิส
โดยทั่วไปโรคซิฟิลิสรักษาได้ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ ในกลุ่ม Penicillinที่เป็นหนัก
ในช่วงระยะรักษาควรงดการมีเพศสัมพันธ์ เพื่อช่วยป้องกันการแพร่กระจายของโรคหรือกระตุ้นให้เกิดการกำเริบมากขึ้นหากได้รับเชื้อ หากได้รับเชื้อจากผู้อื่นอีกครั้งและแนะนำให้คู่นอนมาตรวจด้วยเช่นกัน สำหรับประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นการรักษาด้วยยากลุ่ม Penicillin Gที่แบ่งย่อยได้อีกหลายชนิดซึ่งแพทย์จะฉีดให้ผู้ป่วยโดยดูจากระยะเวลาในการป่วยว่าเป็นมานานเท่าไหร่
การป้องกันซิฟิลิส
-
การป้องกันโรคได้ดีที่สุด
เป็นการลดความเสี่ยงจากการได้รับเชื้อ
โดยเฉพาะการได้รับเชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์
จึงควรหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์