Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ** - Coggle Diagram
โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
**
โรคมะเร็งปอด
ชนิดของมะเร็งปอด
มะเร็งปอดชนิดเซลล์เล็ก (Small Cell Lung Cancer)เซลล์เจริญเติบโตและแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็วทําให้ผู้ป่วยเสียชีวิตรวดเร็ว ซึ่ง พบได้ RS -RU%
มะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์เล็ก(Non-Small Cell Lung Cancer)
แพร่กระจายได้ช้ากว่าและสามารถรักษาให้หายได้โดยการผ่าตัด
หากตรวจพบตัYงแต่ระยะแรกๆ โดยมะเร็งชนิดนีYพบได้ประมาณ ZU -[S%
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็งปอด
การสูบบุหรี่
พันธุกรรม
มะเร็มะเร็งปอดไม่ใช่โรคติดต่อ
และไม่สามารถส่งผ่านไปยังคนอื่นได้
อาการของโรคมะเร็ง
หายใจลำบากหอบ เหนื่อย หายใจสั้นหายใจสั้นหายใจมีเสียงหวีด
เจ็บหน้าอกตลอดเวลา
ไอเรื้อรัง ไอมีเสมหะปนเลือด
เสียงแหบ เสียงเปลี่ยน
ปอดติดเชื้อบ่อย
เหนื่อยง่ายอ่อนเพลีย
น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
การรักษา
การผ่าตัด
การฉายรังสี
การใช้ยารักษา
การดูแลตนเองภายหลังการรักษา
หยุดการสูบบุหรี่โดยทันที
หากมีอาการดีขึ้นให้ออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 15 นาที ถึง
30 นาที เพื่อส่งเสริมการทำงานของปอดและหัวใจให้ดีขึ้น
พบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำและ ป้องกันการเกิดมะเร็งที่อวัยวะอื่น
ความดันโลหิตสูง
ค่าความดันโลหิต
ความดันค่าบน (Systolic) ระดับความดันโลหิตขณะที่หัวใจบีบตัว มากกว่าหรือเท่ากับ 140 (mm/Hg) ขึ้นไป
ความดันค่าล่าง (Diastolic) ระดับความดันโลหิตขณะที่หัวใจคลายตัว มากกว่าหรือเท่ากับ 90 (mm/Hg) ขึ้นไป
สาเหตุ
มากกว่า 90 % เป็นความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Essential Hypertension) มักพบได้บ่อยในรายที่มีประวัติครอบครัวเป็นความดันโลหิตสูง อายุมากส่วนใหญ่กลุ่มที่ทราบสาเหตุพบได้น้อย ซึ่งเกิดได้ในผู้ป่วยที่มีโรคอยู่แล้ว เช่น โรคไต หลอดเลือดที่ไตตีบบครรภ์เป็นพิษ เนื้องอกบางชนิด โรคทางต่อมหมวกไตยาบางอย่าง เป็นต้น
ปัจจัยที่ส่งผล
ปัจจัยที่ควบคุมได้
อ้วนหรือมีน้ำหนักเกิน
ไขมันในเลือดสูง
ดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
กินรสเข้มเป็นประจำ
ขาดการออกกำลังกาย
มีภาวะดื้ออินซูลินหรือเป็นเบาหวาน
ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
เพศและอายุเพศและอายุเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงในช่วงก่อนอายุ 50 ปี
กรรมพันธุ์
การรักษา
การทานยา
ยาแบบที่ 1 เริ่มให้ยาเพียงตัวเดียวจากนั้นค่อย ๆ เพิ่มขนาดยาจนถึงขนาดสูงสุดถ้าความดันลดไม่ได้ตามค่าเป้าหมายค่อยนำยากลุ่มอื่นมาเพิ่ม
ยาแบบที่ 2 เริ่มให้ยาเพียงตัวเดียวถ้าไม่สามารถลดความดันโลหิตได้ตามเป้าหมายจะนำหายากลุ่มอื่นมาเพิ่มโดยไม่ต้องรอให้ยาตัวแรกถึงขนาดสูงสุด
การให้การให้ยาแบบที่ 3 ให้ยา 2 กลุ่มตั้งแต่แรก โดยเฉพาะในรายที่ความดันโลหิตมากกว่าค่าเป้าหมาย 20 / 10
โรคเบาหวาน
เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้ำตาลในเลือดสูง
เนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน
หรือ การดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน
อาการทั่วไปอาการทั่วไป
ปัสสาวะบ่อย
มองเห็นไม่ชัด
น้ำหนักลด
รู้สึกกระหายน้ำมาก
รู้สึกอ่อนเพลีย เมื่อยล้า
เมื่อเกิดบาดแผลและการฟกช้ำ
แผลจะหายได้ช้ากว่าปกติ
รู้สึกชาเจ็บเหมือนมีเข็มทิม
ตามปลายมือ หรือ ปลายเท้า
ภาวะ Impaired fasting glucose
คือ ภาวะของคนที่มีระดับน้ำตาล
ในเลือดสูงกว่าปกติ แต่ยังไม่ถึงระดับ
ที่จัดว่าเป็นเบาหวาน
คืออยู่ในระดับ 110 - 125 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
นักวิทยาศาสตร์พยายามที่จะเรียนรู้ที่จะทำนาย
ให้ได้ว่าบุคคลเหล่านี้จะกลายเป็นโรคได้อย่างไร
และจะสามารถป้องกันการพัฒนาของโรคได้อย่างไรบ้าง
ชนิดของเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 1 เป็นชนิดพึ่งอินซูลิน (IDDM)
เบาหวานชนิดที่ 1 นี้ พบประมาณ 5-10% ของโรคเบาหวานทุกประเภท ปัจจัยเสี่ยงของเบาหวานชนิดที่ 1 นั้นมีน้อยกว่าเบาหวานชนิดที่ 2 ปัจจัยที่มีส่วนทำให้เกิดภาวะเบาหวานชนิดที่ 1 ได้แก่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง พันธุกรรม และสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย
เบาหวานชนิดที่ 2 คือชนิดไม่ต้องพึ่งอินซูลิน (NIDDM)
เบาหวานชนิดที่ 2 นี้ พบเป็นจำนวน 90-95% ของจำนวนโรคเบาหวานทุกชนิด ปัจจัยเสี่ยงของเบาหวานประเภทนี้ได้แก่ อายุที่มากขึ้น ความอ้วน บุคคลในครอบครัวมีประวัติเป็นเบาหวาน ประวัติการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความต้านทานต่อกลูโคสต่ำ ร่างกายไม่เคลื่อนไหว เชื้อชาติ ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มีประวัติเคยเป็นโรคเกี่ยวกับหลอดเลือด
เบาหวานที่เกิดในช่วงตั้งครรภ์
เกิดขึ้น 2-5% ของจำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด แต่ส่วนใหญ่พบหลังการคลอดบุตรแล้ว ผู้หญิงที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีโอกาสเสี่ยงเพิ่มขึ้นของการพัฒนาที่จะเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 มีงานวิจัยกล่าวไว้ว่า ร้อยละ 40 ของผู้หญิงที่มีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์จะพัฒนาเป็นเบาหวานได้ในอนาคต
เบาหวานชนิดพิเศษอื่นๆ
มีผลจากความผิดปกติทางพันธุกรรม การผ่าตัด ยาเสพย์ติด ภาวะขาดสารอาหาร การติดเชื้อ และความเจ็บป่วยอื่นๆ เบาหวานชนิดนี้พบเป็นจำนวน 1-2% ของคนไข้ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคเบาวานทั้งหมด
การรักษา
การรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2
วิธีการรักษาได้แก่การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การตรวจระดับน้ำตาลด้วยตนเอง และในบางกรณีอาจต้องมีการการรักษาด้วยยารับประทานและหรือฉีดอินซูลินร่วมด้วย ซึ่งมีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ประมาณ 40% ที่ต้องฉีดอินซูลินร่วมด้วย
รักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 1
เนื่องจากตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้จึงอาจทำให้โรคเบาหวานชนิดที่ 1 นี้ยากต่อการควบคุม การรักษาจึงต้องมีหลักเกณฑ์ต่างๆ ได้แก่ การควบคุมอาหารอย่างระมัดระวัง วางแผนเรื่องการออกกำลังกาย การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง และการฉีดอินซูลินแบบหลายครั้งในหนึ่งวัน (MDI)
โรคไข้เลือดออก
สาเหตุการเกิด
ไข้เลือดออกเกิดจากไวรัสเดงกี
ซึ่ง มีอยู่ 4 สายพันธุ์
การติดเชื้อครั้งแรกมักมีอาการไม่รุนแรงแต่ถ้าติดเชื้อครั้งที่ 2โดยเชื้อที่ต่างสายพันธุ์กับครั้งแรกอาการมักจะรุนแรงถึงขั้นเลือดออกช็อคหรือเสียชีวิตโรคนี้พบมากในวัยเด็กที่อายุต่ำกว่า15ปี
การติดต่อ
โรคไข้เลือดออกติดต่อจากคนสู่คน
โดยมียุงเป็นพาหะที่สำคัญ
อาการ
ระยะไข้ 2-7 วันผู้ป่วยจะมีไข้สูงเกือบตลอดเวลา
เบื่ออาหารคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง มักมีหน้าแดง
และอาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัวแขนขา
ระยะฟื้นตัวระยะฟื้นตัวอาการต่างๆจะเริ่มดีขึ้นผู้ป่วยรู้สึกอยากรับประทานอาหารความดันโลหิตสูงขึ้นที่พจรเต้นแรงขึ้นแต่เช้าลูกไปศาลามากขึ้นบางรายมีผื่นแดง
และมีออกเล็กๆตามลำตัว
2.ระยะช็อค ระยะนี้ไข้จะเริ่มลดลงผู้ป่วยจะซึมเหงื่อออก
มือเท้าเย็น ชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว ปวดท้องโดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครง ปัสสาวะออกน้อยแต่อาจเลือดออกง่ายเช่นกำเดาไหล อาเจียนเป็นเลือด
การรักษา
เนื่องจากไม่มียาต้านเชื้อไวรัส
ที่มีอยู่ในเฉพาะสำหรับเชื่อไวรัสดิงกี้การรักษาตามอาการจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดโดยใช้ยาพาราเซตามอลแต่ช่วงที่มีไข้ห้ามใช้แอพไพรินถ้ามีอาการขึ้นไส้อาเจียนให้ยาแก้ไอได้และให้ดื่มน้ำเกลือหรือน้ำผลไม้บ่อยครั้ง
การป้องกัน
ป้องกันไม่ให้ยุงกัด
โดยนอนในมุ้งแม้แต่
เวลากลางวัน
กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง
ในบริเวณบ้าน
ควรเปลี่ยนควรเปลี่ยนถ่ายน้ำ
น้ำในภาชนะที่ขังน้ำในทุก ๆ 7 วัน
เช่น แจกัน
ใส่ทรายอะเบตลงไป
ในภาชนะที่กักเก็บน้ำ
โรคโควิด-19
เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจเกิดจากไวรัสโคโรนาซึ่งมีทางการว่า SARS-COV - 2 เกิดขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019)เมืองที่เมืองอู่ฮั่น
เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ภาคกลางของประเทศจีน
อาการของโรคโควิด-19
และสายพันธุ์
สายพันธุ์เดลต้า อินเดีย
ปวดหัว
เจ็บคอ
มีน้ำมูก
สูญเสียการรับรส
อาการคล้ายหวัดธรรมดา :
สายพันธุ์อัลฟ่า อังกฤษ
เจ็บคอ
หายใจเหนื่อย
ปวดตามร่างกาย ศีรษะ
มีไข้ 37.5 องศาขึ้นไป
การรับรสรับกลิ่นผิดปกติ
สายพันธุ์เบต้า แอฟริกาใต้
ปวดเมื่อยตามร่างกาย
เจ็บคอ
ท้องเสีย
ตาแดง
การรับรสรับกลิ่นผิดปกติ
มีผื่นขึ้นบริเวณผิวหนังหรือมือเท้าเปลี่ยนสี
วิธีป้องกันการติดเชื้อ โควิด-19
ใส่หน้ากากอนามัย และ ล้างมือบ่อย ๆ
ด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์
ทานอาหารปรุงสุกสะอาดและใช้ช้อนกลางทุกครั้ง
พักผ่อนให้เพียงพอเพื่อเสริมภูมิต้านทาน
หลีกเลี่ยงการเดินทางไปพื้นที่เสี่ยง แออัด
การรักษา โควิด-19
ยังไม่การรักษาที่แน่นอน
ปัจปัจจัยสำคัญที่ลดความรุนแรงคือการใช้
ยาฟาวิพิราเวียร์
เร็วภายใน 4 วันตั้งแต่เริ่มมีอาการแบ่งตามอาการได้ 4 กรณี
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรงไม่มีปอดอักเสบไม่มีปัจจัย
เสี่ยงต่อการเป็นโรครุนแรงหรือโรคร่วมสำคัญ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรงแต่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรครุนแรง
หรือมีโรคร่วมสำคัญ
ผู้ติดเชื้อ โควิด-19 ไม่มีอาการ
ผู้ป่วยที่ยืนยันที่มีปอดบวมหรือมีภาวะออกซิเจนต่ำ